Page 31 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 31

แนวคิดเ​ศรษฐศาสตร์ก​ ระแส​หลักใ​น​ปัจจุบัน 13-21

       นับ​แต่​ทศวรรษ​ที่ 1980 เป็นต้น​มา จึง​ได้​มี​ความ​พยายาม​โดย​นัก​เศรษฐศาสตร์​มหภาค​สมัย​ใหม่​ที่​มุ่ง​พัฒนา​
แบบ​จำ�ลอง​เศรษฐกิจ​มหภาค​บน​พื้น​ฐาน​จุลภาค​และ​สมมติฐาน​ว่า​ด้วย​การ​คาด​คะเน​แบบ​สม​เหตุ​สม​ผล เป็นการ
ผ​ สมผ​ สานแ​ บบจ​ �ำ ลองจ​ ลุ ภาคว​ า่ ด​ ว้ ยพ​ ฤตกิ รรมข​ องค​ รวั เ​รอื นแ​ ละห​ นว่ ยผ​ ลติ แลว้ จ​ งึ ร​ วมพ​ ฤตกิ รรมจ​ ลุ ภาคข​ องป​ จั เจก-​
ชน​แต่ละ​คน ประกอบข​ ึ้น​เป็นค​ วาม​สัมพันธ์​ระหว่าง​ตัวแปร​ต่างๆ ใน​ระดับ​มหภาค

       แบบจ​ ำ�ลอง​เศรษฐกิจม​ หภาค​บน​พื้น​ฐานจ​ ุลภาคด​ ังก​ ล่าวพ​ ัฒนาข​ ึ้นบ​ นพ​ ื้น​ฐานข​ องด​ ุลยภาพท​ ั่วไป (General
Equilibrium) ที่ร​ ะบบเ​ศรษฐกิจป​ ระกอบด​ ้วยห​ ลายต​ ลาด โดยท​ ุกต​ ลาดอ​ ยู่ใ​นส​ ภาวะด​ ุลยภาพพ​ ร้อมก​ ัน (Simultane-
ous equilibrium) แบบ​จำ�ลองส​ มมติใ​ห้ม​ ี​ผู้​ตัดสิน​ใจ​ทาง​เศรษฐกิจท​ ี่​เป็นต​ ัวแทน (Representative agents) ได้แก่
ผู้บ​ ริโภคป​ ัจเจกช​ น (แทนผ​ ู้บ​ ริโภคท​ ั้งหมด) หน่วยผ​ ลิตป​ ัจเจกช​ น (แทนห​ น่วยผ​ ลิตท​ ั้งหมด) และภ​ าคร​ ัฐบาล นอกจากน​ ี้
แบบ​จำ�ลองย​ ังก​ ำ�หนด “ข้อมูลพ​ ื้น​ฐาน” ของ​ระบบเ​ศรษฐกิจ ได้แก่

            •	 แบบแผนค​ วามพ​ ึง​พอใจ​ของผ​ ู้​บริโภค (Consumer preferences) คือ แบบแผน​รสนิยมแ​ ละ​ความ​
ต้องการข​ องผ​ ู้​บริโภคป​ ัจเจกช​ น​ที่​มีต​ ่อ​สินค้าแ​ ละ​บริการต​ ่างๆ

            •	 เทคโนโลยใ​ี นร​ ปู ข​ องฟ​ งั กช์ นั ก​ ารผ​ ลติ (Production function) ซึง่ ผ​ สมผ​ สานป​ จั จยั ก​ ารผ​ ลติ (แรงงาน​
และท​ ุน) เพื่อท​ ำ�การ​ผลิต​เป็นผ​ ลผลิต โดยม​ ี​ระดับผ​ ลิตภ​ าพ​ที่แ​ น่นอน​หนึ่งๆ

            •	 ข้อ​จำ�กัด​งบ​ประมาณ (Budget constraints) ผู้​บริโภค​ตัดสิน​ใจ​ภาย​ใต้​ข้อ​จำ�กัด​ของ​งบ​ประมาณ
(ราย​ได้ที่​ใช้จ​ ่ายไ​ด้) และ​หน่วย​ผลิต​ตัดสินใ​จ​ทำ�การผ​ ลิตภ​ ายใ​ต้​ข้อจ​ ำ�กัด​ของร​ าคา​ปัจจัย​การ​ผลิต

       ทั้ง​ผู้บ​ ริโภคแ​ ละห​ น่วยผ​ ลิต​ทำ�การ​ตัดสินใ​จ​ทาง​เศรษฐกิจ​บนข​ ้อ​สมมติต​ ่อไ​ป​นี้
            •	 การ​แสวงหา​ประโยชน์​สูงสุด (Optimization) ผู้​บริโภค​ปัจเจก​ชน​มุ่ง​แสวงหา​อรรถประโยชน์​สูงสุด​

จากก​ าร​บริโภค​ของ​ตน ขณะท​ ี่ห​ น่วยผ​ ลิต​มุ่ง​แสวงหา​กำ�ไรส​ ูงสุด
            •	 การ​ตัดสินใ​จข​ ้ามเ​วลา (Intertemporal decisions) ทั้ง​ผู้​บริโภคแ​ ละห​ น่วย​ผลิตแ​ สวงหา​ประโยชน​์

สูงสุด​ทั้งใ​น​ระยะป​ ัจจุบัน​และร​ ะยะ​อนาคตพ​ ร้อมก​ ัน
            •	 ผู้​บริโภค​และ​หน่วย​ผลิต​ตัดสิน​ใจ​ทาง​เศรษฐกิจ​บน​สมมติฐาน​การ​คาด​คะเน​แบบ​สม​เหตุ​สม​ผล

(Rational expectations hypothesis) สามารถท​ ำ�นาย​แนว​โน้มเ​ฉลี่ย​ของ​ตัวแปรท​ าง​เศรษฐกิจ​ได้อ​ ย่าง​ถูกต​ ้อง
            •	 ตัวแปร​ราคา เช่น ราคาส​ ินค้า ค่าจ​ ้าง​ตัวเ​งิน อัตรา​ดอกเบี้ยต​ ัว​เงิน มี​ความ​ยืดหยุ่น สามารถ​ปรับต​ ัว​

ไปต​ าม​สภาวะข​ องอ​ ุปสงค์​และอ​ ุปทาน​ได้ ตลาดไ​ม่มี​ล้นเ​กินแ​ ละไ​ม่มี​ขาดแคลน (All markets clear.)
       การต​ ัดสินใ​จท​ างเ​ศรษฐกิจข​ องผ​ ู้บ​ ริโภคป​ ัจเจกช​ นแ​ ละห​ น่วยผ​ ลิตป​ ัจเจกช​ นจ​ ะไ​ปบ​ รรลุค​ ่าตัวแ​ ปรต​ ่างๆ ที่อ​ ยู​่

ภายใ​ต้​ดุลยภาพท​ ั่วไป รวม​ขึ้น​เป็นค​ ่าตัว​แปรร​ ะดับม​ วล​รวม เช่น การ​บริโภค การอ​ อม การ​ลงทุน การ​จ้างง​ าน ปริมาณ​
ผลผลิต ระดับ​ค่าจ​ ้าง และอ​ ัตรา​ดอกเบี้ย ใน​สภาวะด​ ุลยภาพ​ใน​ตลาดส​ ินค้า​บริโภค ตลาดแ​ รงงาน ตลาด​ทุน และต​ ลาด​
สินเ​ชื่อ เป็นต้น

       การเ​ปลีย่ นแปลงใ​นแ​ บบจ​ �ำ ลองเ​ศรษฐกจิ ม​ หภาคเ​กดิ จ​ าก “ชอ็ กต​ วั แปรส​ ุม่ ” (Random shocks) ซึง่ เ​ปน็ ต​ วั แปร​
นอกร​ ะบบ เช่น การ​เปลี่ยนแปลง​เทคโนโลยี​หรือผ​ ลิตภ​ าพ​การ​ผลิต การข​ ึ้นล​ ง​ของร​ าคา​พลังงาน นโยบาย​การค​ ลัง​ของ​
รัฐบาล (การใ​ช้จ​ ่าย​รัฐบาล​และ​การ​จัด​เก็บ​ภาษี) และ​นโยบายก​ าร​เงิน​ของธ​ นาคาร​กลาง (อุปทาน​เงิน) เป็นต้น

       แบบ​จำ�ลอง​เศรษฐกิจ​มหภาค​บน​ฐาน​จุลภาค​จึง​สามารถ​ใช้​วิเคราะห์​ผลก​ระ​ทบ​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​
นโยบายร​ ัฐบาล​และ​ธนาคารก​ ลาง​ได้​เช่น​เดียว​กับ​แบบ​จำ�​ลอง​เคน​ส์​เซียน​ดั้งเดิม ด้วย​การ​สมมติ​ให้​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​
นโยบาย เช่น รัฐบาล​เพิ่ม​การ​ใช้​จ่าย​ใน​ระบบเ​ศรษฐกิจ​ใน​เงื่อนไขง​ บ​ประมาณส​ มดุล ซึ่งท​ ำ�ให้​ทั้งก​ ารใ​ช้​จ่าย​ภาคร​ ัฐ​และ​
การ​จัด​เก็บ​ภาษี​เพิ่ม​ขึ้นใ​นจ​ ำ�นวน​เท่า​กัน จาก​นั้น​ก็​วิเคราะห์​ผลก​ระ​ทบ​ลูกโซ่​ของ​นโยบาย​ดัง​กล่าว​ผ่าน​ตัวแปร​รายไ​ด้ที่​
ใช้​จ่ายไ​ด้​ของ​ผู้บ​ ริโภค ไป​ยังก​ ารบ​ ริโภคป​ ัจจุบัน และ​การ​บริโภค​ข้ามเ​วลา การ​ออม การผ​ ลิต การจ​ ้างง​ าน ระดับค​ ่าจ​ ้าง
เป็นต้น
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36