Page 34 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 34

13-24 ประวัติศาสตร์​เศรษฐกิจ​และแ​ นวคิดท​ าง​เศรษฐศาสตร์

       นัย​ของ​ทฤษฎี​เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​คือ ใน​เมื่อ​วัฏจักร​ธุรกิจ​เกิด​จาก​ความ​ไม่​แน่นอน​และ​การ​คาด​คะเน​
อนาคตข​ องน​ ักล​ งทุนใ​นร​ ะบบต​ ลาด ทำ�ให้ร​ ะบบเ​ศรษฐกิจม​ หภาคเ​คลื่อนไหวอ​ อกน​ อกด​ ุลยภาพร​ ะยะย​ าว ขณะท​ ี่ก​ ลไก​
ตลาด​ไม่มี​ประสิทธิภาพ​เพียง​พอ​และ​เชื่อง​ช้า​เกิน​ไป​ใน​การ​ปรับ​ให้​ระบบ​เศรษฐกิจ​กลับ​เข้า​สู่​ภาวะ​ดุลยภาพ​ระยะ​ยาว​ที่​
มี​การ​จ้าง​งาน​เต็ม​ที่ ฉะนั้นรัฐบาลแ​ ละ​ธนาคาร​กลาง​จึง​มี​บทบาท​สำ�คัญ​ใน​การ​แทรกแซง​ระบบ​เศรษฐกิจ เพื่อ​ผ่อน​เบา​
หรือ​ขจัดว​ ัฏจักร​ธุรกิจ ด้วยก​ ารด​ ำ�เนินน​ โยบายก​ ารเ​งินก​ ารค​ ลัง​ที่​ต้าน​วัฏจักร (Anti-cyclical policies) เช่น ในภ​ าวะ​
เศรษฐกิจ​รุ่งเรือง รัฐบาล​ดำ�เนิน​นโยบาย​การ​คลัง​แบบ​หด​ตัว (ลด​การ​ใช้​จ่าย เพิ่ม​ภาษี) ขณะ​ที่​ธนาคาร​กลาง​ก็​ดำ�เนิน​
นโยบายก​ าร​เงิน​แบบ​ตึงตัว (ชะลอ​การเ​พิ่มอ​ ุปทานเ​งิน ขึ้นอ​ ัตรา​ดอกเบี้ย) ส่วน​ในภ​ าวะเ​ศรษฐกิจ​ชะลอต​ ัว​หรือ​ถดถอย
รัฐบาล​ดำ�เนิน​นโยบาย​การ​คลัง​แบบ​ขยาย​ตัว (เพิ่ม​การ​ใช้​จ่าย ลด​ภาษี) ขณะ​ที่​ธนาคาร​กลาง​ดำ�เนิน​นโยบาย​การ​เงิน​
แบบ​ผ่อนค​ ลาย (เร่ง​เพิ่มอ​ ุปทานเ​งิน ลด​อัตราด​ อกเบี้ย) เพื่อ​ดึงใ​ห้ร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ​มหภาค​กลับ​เข้า​สู่แ​ นวโ​น้มด​ ุลยภาพ​
ระยะย​ าว

       ใน​ทาง​ตรง​ข้าม นัก​เศรษฐศาสตร์​การ​เงิน​นิยม​อธิบาย​วัฏจักร​ธุรกิจ​ว่า เกิด​จาก​การ​ดำ�เนิน​นโยบาย​การ​เงิน​
ของ​ธนาคาร​กลาง​ที่​มุ่ง​กระตุ้น​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ให้​ผลผลิต​และ​การ​จ้าง​งาน​เพิ่ม​สูง​เกิน​กว่า​แนว​โน้ม​ดุลยภาพ​
ระยะย​ าว​ด้วยก​ าร​เพิ่มอ​ ัตราก​ าร​เติบโต​ของ​อุปทาน​เงิน ซึ่งส​ ่งผ​ ลก​ระ​ทบต​ ่อ​อัตราด​ อกเบี้ย การใ​ช้​จ่าย​บริโภค​และ​ลงทุน​
เอกชน การใ​ช้จ​ ่าย​มวลร​ วม​ใน​ด้านอ​ ุปสงค์ ไป​จนถึงก​ าร​ผลิต การจ​ ้างง​ านแ​ ละร​ ะดับ​ค่า​จ้างใ​น​ด้านอ​ ุปทาน ทำ�ให้ต​ ัวแปร​
มหภาค​เหล่าน​ ี้​เพิ่ม​ขึ้น​สูง​กว่า​แนว​โน้ม​ดุลยภาพ​ระยะย​ าว ต่อ​มา​ธนาคาร​กลางช​ ะลอก​ าร​เพิ่ม​อุปทานเ​งิน ผู้​บริโภคแ​ ละ​
ผู้​ลงทุน​รับ​รู้​ลักษณะ​ชั่วคราว​ของ​การ​เพิ่ม​ปริมาณ​เงิน จึง​ปรับ​ตัว​กลับ​มา​ใน​ด้าน​ตรง​ข้าม ก่อ​ให้​เกิด​เป็น​วัฏจักร​ธุรกิจ
นัย​หนึ่ง การ​ดำ�เนิน​นโยบาย​การ​เงิน​แบบ​อิสระ​ของ​ธนาคาร​กลาง​คือ​ต้น​เหตุ​ของ​วัฏจักร​ธุรกิจ นัย​ทาง​นโยบาย​สำ�หรับ​
นักเ​ศรษฐศาสตร์​การเ​งินน​ ิยมจ​ ึงม​ ิใช่ก​ ารใ​ห้ธ​ นาคารก​ ลางเ​ข้าแ​ ทรกแซง​ระบบ​เศรษฐกิจ​ด้วยก​ ารด​ ำ�เนินน​ โยบายก​ ารเ​งิน​
เพื่อ​ขจัด​หรือ​ผ่อน​เบา​วัฏจักร​ธุรกิจ แต่​เสนอ​ให้​ธนาคาร​กลาง​ดำ�เนิน​ตาม​กฎ​การ​เงิน​ที่​เคร่งครัด เช่น การ​เพิ่ม​อุปทาน​
เงินใ​นอ​ ัตราค​ งที่ เพื่อส​ ร้าง​เสถียรภาพ​ราคา เป็น​สภาพแ​ วดล้อมท​ าง​ธุรกิจท​ ี่​มีค​ วาม​แน่นอน เอื้อ​อำ�นวย​ให้ก​ ลไก​ตลาด​
ทำ�งานไ​ด้​อย่าง​เต็ม​ที่แ​ ละม​ ี​ประสิทธิภาพ

       อย่างไรก​ ็ตาม ทั้งน​ ักเ​ศรษฐศ​ าสตรเ์​คนส​ เ์​ซียนแ​ ละน​ ักเ​ศรษฐศาสตรก์​ ารเ​งินน​ ิยมม​ คี​ วามเ​ห็นพ​ ื้นฐ​ านต​ รงก​ ันว​ ่า
วัฏจักรธ​ ุรกิจเ​ป็นการ​เคลื่อนไหวข​ องร​ ะบบเ​ศรษฐกิจท​ ี่ “ออกน​ อก​ดุลยภาพ” เป็น​ภาวะไ​ร้​เสถียรภาพอ​ ันไ​ม่​พึงป​ ระสงค์
โดย​มี​สาเหตุ​มา​จาก​การกร​ ะเ​พื่อ​มข​ องต​ ัวแปร​มหภาค​ด้านอ​ ุปสงค์​มวล​รวม

       ใน​ปี 1982 นัก​เศรษฐศาสตร์​สอง​คน​คือ ฟินน์ คิด​แลนด์ และ​เอ็ด​เวิร์ด เพ​รส​ค็อต (Finn Kydland and
Edward Prescott) ได้น​ ำ�​เสนอ​คำ�​อธิบาย​ใหม่​ถึงส​ าเหตุ​ของ​วัฏจักรธ​ ุรกิจ โดยอ​ าศัยพ​ ื้น​ฐานจ​ าก​ทฤษฎีเ​ศรษฐศาสตร​์
คลาสสิก​ใหม่​คือ สมมติฐาน​การ​คาด​คะเน​แบบ​สม​เหตุ​สม​ผล แบบ​จำ�ลอง​เศรษฐศาสตร์​มหภาค​บน​ฐาน​จุลภาค และ​
เทคนิค​เชิงป​ ริมาณ​แบบ​ใหม่ เรียกว​ ่า ทฤษฎี​วัฏจักรธ​ ุรกิจ​จริง (Real Business Cycle Theory)

       ทั้ง​เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​และ​เศรษฐศาสตร์​การ​เงิน​นิยม​เห็น​ว่า สาเหตุ​ของ​วัฏจักร​ธุรกิจ​อาจ​มี​สาเหตุ​มา​
จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​อัตรา​การ​เติบโต​ของ​อุปทาน​เงิน​ที่​ส่ง​ผล​ต่อ​กิจกรรม​การ​ทาง​เศรษฐกิจ “ภาค​การ​ผลิต​จริง” (การ​
ผลิต​และ​การจ​ ้างง​ าน) นัย​หนึ่ง ตัวแปร​ทางการเ​งินอ​ าจ​เป็นต้น​เหตุข​ อง​วัฏจักรธ​ ุรกิจ​ได้ ใน​ทาง​ตรงข​ ้าม ทฤษฎีว​ ัฏจักร​
ธุรกิจ​จริงเ​ห็น​ว่า สาเหตุ​พื้น​ฐานข​ อง​วัฏจักร​ธุรกิจจ​ ริงม​ าจ​ าก “ช็อก” ใน​ภาค​การ​ผลิตจ​ ริง (การ​ผลิต การ​จ้างง​ าน ผลิต​
ภาพ) ส่งผ​ ลก​ระท​ บ​ต่อ​เนื่องไ​ป​ยังต​ ัวแปร​มหภาค​อื่นๆ (การ​บริโภค การล​ งทุน ระดับร​ าคา ค่า​จ้างต​ ัว​เงิน อัตราด​ อกเบี้ย​
ตัว​เงิน เป็นต้น)

       ทฤษฎีว​ ัฏจักรธ​ ุรกิจจ​ ริงใ​ช้แ​ บบจ​ ำ�ลองร​ ะบบเ​ศรษฐกิจม​ หภาคต​ ามแ​ นวทางเ​ศรษฐศาสตร์ค​ ลาสสิกค​ ือ เริ่มจ​ าก​
ฐานจ​ ุลภาค
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39