Page 39 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 39

แนวคิดเ​ศรษฐศาสตร์​กระแส​หลักใ​นป​ ัจจุบัน 13-29

เรื่องท​ ่ี 13.3.1
ขอ้ ​สมมต​ิของเ​ศรษฐศ​ าสตร์​เคน​ส​เ์ ซียน​ใหม่

       หัวใจ​ประการ​หนึ่ง​ของ​การ​โต้​แย้ง​ระหว่าง​นัก​เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​กับ​นัก​เศรษฐศาสตร์​คลาสสิก​ใหม่​คือ
โครงสร้าง​และ​พฤติกรรม​ใน​ตลาด​แรงงาน นัก​เศรษฐศาสตร์​คลาสสิก​ใหม่​เชื่อ​ว่า แม้​ตลาด​แรงงาน​อาจ​จะ​ไม่​ถึง​กับ​มี​
โครงสร้าง​แบบ​แข่งขัน​สมบูรณ์ แต่​อัตรา​ค่า​จ้าง​ที่​เป็น​ตัว​เงิน​ก็​มี​ความ​ยืดหยุ่น​มาก​พอ​และ​สามารถ​ปรับ​ตัว​ได้​รวดเร็ว​
เพื่อร​ ักษาด​ ุลยภาพร​ ะยะย​ าวข​ องต​ ลาดแ​ รงงานไ​ด้ แต่น​ ักเ​ศรษฐศ​ าสตร์เ​คนส​ ์เ​ซียนเ​ห็นใ​นท​ างต​ รงข​ ้ามว​ ่า ตลาดแ​ รงงาน​
มีโ​ครงสร้างท​ ี่​ปรับ​ตัว​ช้า และอ​ ัตรา​ค่าจ​ ้าง​ตัวเ​งินม​ ีก​ าร​เปลี่ยนแปลง​ได้ย​ าก โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​คือ การล​ ดค​ ่าจ​ ้าง​ตัวเ​งิน​
เป็นส​ ิ่งท​ ี่ท​ ำ�ได้ย​ ากย​ ิ่งอ​ ันเ​ป็นผ​ ลม​ าจ​ ากก​ ารก​ ำ�หนดค​ ่าจ​ ้างด​ ้วยส​ ัญญาจ​ ้างง​ านร​ ะยะย​ าว หรือโ​ดยก​ ารต​ ่อต​ ้านข​ องค​ นง​ าน​
และ​สหภาพแรงงาน หรือ​โดยน​ โยบาย​ของ​นายจ้างเ​องท​ ี่ไ​ม่​ต้องการท​ ำ�ลาย​ขวัญก​ ำ�ลัง​ใจข​ อง​คนง​ าน เป็นต้น

       นัก​เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​รุ่น​ใหม่​จึง​หัน​มา​เจาะจง​ศึกษา​วิจัย​ถึง​โครงสร้าง​และ​กลไก​ของ​ตลาด​แรงงาน​เพื่อ​
อธิบาย​ความ​ไม่​สมบูรณ์​ใน​ตลาด​แรงงาน​และ​เข้าใจ​ถึง​สาเหตุ​ของ​ภาวะ​การ​ว่าง​งาน​โดย​ไม่​สมัคร​ใจ โดย​เจาะจง​ไป​ที่​
ปัญหา​อัตรา​ค่า​จ้าง​ตัว​เงิน​ที่​ไม่​ยืดหยุ่น แนวทาง​นี้​ได้​ถูก​ขนาน​นาม​ว่า เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​ใหม่ (New Keynes-
ian Economics) โดย​มี​นักท​ ฤษฎีค​ น​สำ�คัญ​ได้แก่ เกร​ ก​อรี่ แมน​คิฟ (Gregory Mankiw) และ เดวิด โรเมอร์ (David
Romer) เป็นต้น โดยจ​ ุดป​ ระสงค์ส​ ำ�คัญ​ก็ค​ ือ การพ​ ัฒนา​ทฤษฎีจ​ ุลภาคว​ ่าด​ ้วย​ตลาดแ​ รงงาน เพื่อ​เป็น​รากฐาน​ไปอ​ ธิบาย​
พฤติกรรม​มหภาคข​ องร​ ะบบ​เศรษฐกิจ​ว่า​ด้วย​ค่าจ​ ้างต​ ัวเ​งินท​ ี่ไ​ม่ย​ ืดหยุ่น​และ​การว​ ่างง​ าน​โดย​ไม่​สมัครใ​จ

       ทฤษฎี​เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​ใหม่​ไม่ใช่​ระบบ​ทฤษฎี​หรือ​แบบ​จำ�ลอง​เศรษฐกิจ​มหภาค​ที่​เป็น​หนึ่ง​เดียว​
ดัง​เช่น​ทฤษฎี​เคน​ส์​เซียน​แบบ​ดั้งเดิม หาก​แต่​เป็น​ทฤษฎี​และ​แบบ​จำ�​ลอง​ย่อยๆ หลาย​อัน​ซึ่ง​อธิบาย​ความ​ไม่​สมบูรณ์​
ของ​ตลาด​แรงงาน​ใน​แง่​มุม​ที่​แตก​ต่าง​กัน อย่างไร​ก็ตาม แบบ​จำ�​ลอง​เคน​ส์​เซียน​ใหม่​เหล่า​นี้​ก็​มี​ลักษณะ​หรือ​ข้อ​สมมติ​
ทาง​ทฤษฎีบ​ าง​ประการ​ร่วมก​ ัน ได้แก่

            •	 ตลาด​แรงงาน​มี​ความ​ไม่​สมบูรณ์​ด้วย​สาเหตุ​ต่างๆ ทำ�ให้​อัตรา​ค่า​จ้าง​ตัว​เงิน​ไม่​ยืดหยุ่น​และ​เปลี่ยน-
แปลงไ​ ด้​ยาก

            •	 ตลาดผ​ ลผลิต​มี​ความไ​ม่​สมบูรณ์​บาง​ประการ​เช่นเ​ดียวก​ ับต​ ลาดแ​ รงงาน นัย​หนึ่ง​ผู้ผ​ ลิตห​ รือ​นายจ้าง​
มี​อำ�นาจ​ผูกขาดบ​ าง​ระดับใ​นต​ ลาด​ผลผลิต​ของต​ น

            •	 การท​ ี่​ตลาด​ผลผลิต​มีค​ วาม​ไม่ส​ มบูรณ์ ทำ�ให้​ราคาส​ ินค้า​มีล​ ักษณะ​ไม่​ยืดหยุ่น​และป​ รับ​ได้ย​ าก
            •	 โครงสร้าง​ที่​ไม่​สมบูรณ์​ทั้ง​ใน​ตลาด​ผลผลิต​และ​ตลาด​แรงงาน​ทำ�ให้​แม้แต่​ระดับ​ราคา​เปรียบ​เทียบ​
ระหว่างส​ ินค้า​ต่างช​ นิด​และ​อัตรา​ค่า​จ้างท​ ี่แท้จ​ ริงก​ ็ม​ ีล​ ักษณะ​ไม่​ยืดหยุ่น​ไป​ด้วย
       ผล​ก็​คือ ทั้งต​ ลาดผ​ ลผลิต​และ​ตลาดแ​ รงงาน​ไม่มีก​ ารป​ รับ​ตัวเ​ข้า​สู่​ดุลยภาพร​ ะยะย​ าว หาก​แต่​ติด​อยู่​กับ​ระดับ​
รายไ​ด้ ผลผลิต และก​ าร​จ้างง​ านท​ ี่ต​ ํ่า​กว่า​การจ​ ้าง​งานเ​ต็ม​ที่ แบบจ​ ำ�​ลองเ​คน​ส์เ​ซียนใ​หม่ป​ ระกอบ​ด้วยแ​ บบจ​ ำ�​ลอง​ย่อยๆ
หลาย​แบบซ​ ึ่งต​ ่างก​ ็​อธิบายค​ วาม​ไม่ส​ มบูรณ์​ในต​ ลาดผ​ ลผลิตแ​ ละต​ ลาด​แรงงานใ​นแ​ ง่ม​ ุมท​ ี่​ต่างก​ ัน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44