Page 41 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 41
แนวคิดเศรษฐศาสตร์ก ระแสหลักในป ัจจุบัน 13-31
โดยที่ต้นทุนรายการราคาเป็นผ ลเสียที่เกิดกับผ ู้ผ ลิตหากต นยอมล ดร าคาในภ าวะตลาดตกตํ่า สาเหตุสำ�คัญ
เช่น ผู้ผลิตรู้ดีว่า ภาวะตลาดมีการขึ้นลงอยู่เสมอ หากตนลดราคาสินค้าในภาวะตลาดตกตํ่าวันนี้ ก็หมายความว่า
ตนจ ะต ้องข ึน้ ร าคาส ินคา้ เมื่อภ าวะต ลาดก ระเตื้องข ึ้นในว นั ห นา้ แตก่ ารข ึน้ ร าคาส นิ ค้าในอ นาคตย อ่ มส ร้างค วามไมพ่ อใจ
แกล่ ูกค้าข องต นอ ย่างแ น่นอน เพราะล ูกค้าส ่วนใหญ่พ อจ ะย อมรับก ารข ึ้นร าคาส ินค้าด ้วยเหตุผลด ้านต ้นทุนข องผ ู้ผ ลิต
ที่ส ูงข ึ้น แต่จ ะไม่พ อใจม ากห ากเป็นการข ึ้นร าคาส ินค้าจ ากก ารท ี่ผ ู้ผ ลิต “ฉวยโอกาส” ตักตวงป ระโยชน์จ ากภ าวะต ลาด
ที่ด ีข ึ้น
เหตุผลอีกประการห นึ่งท ี่ผู้ผ ลิตไม่ยอมลดราคาส ินค้าในภ าวะตลาดต กตํ่าก ็คือ หากผ ู้ผ ลิตร ายใดต ัดราคาลง
ผู้ผลิตรายอื่นๆ อาจทำ�ตาม จนกลายเป็นการแข่งขันตัดราคากันหรือเป็น “สงครามราคา” ซึ่งผู้ผลิตทุกรายก็จะเสีย
ประโยชน์กันถ ้วนหน้า กรณีน ี้นับว ่าส ำ�คัญมากส ำ�หรับต ลาดที่มีผ ู้ผ ลิตหรือผ ู้ขายน ้อยร าย (Oligopoly)
หากต้นทุนความเสียหายจากการลดราคาสินค้ามีสูงมากดังกล่าวแล้ว ผู้ผลิตก็จะไม่ลดราคาสินค้าของตน
หากแ ต่จะใช้ว ิธีล ดก ารผ ลิตและก ารจ ้างง านล งแ ทน เราจ ึงได้เห็นปรากฏการณ์ท างมหภาคท ี่ร ะบบเศรษฐกิจเข้าสู่ภ าวะ
ถดถอย อุปสงค์ม วลร วมห ดต ัว แต่ร าคาส ินค้าก ลับไม่ป รับล ดล งอ ย่างช ัดเจนในข ณะท ี่เกิดก ารว ่างง านข องแ รงงานแ ละ
การลดลงข องผ ลผลิตที่แท้จริงค ่อนข ้างม าก
กจิ กรรม 13.3.2
สรุปแนวคดิ แบบจำ�ลองต ้นทนุ ร ายการร าคา
แนวต อบกจิ กรรม 13.3.2
ผู้ผลิตพยายามหลีกเล่ียงการปรับเปล่ียนราคาสินค้าอย่างง่ายๆ และทันทีแม้ว่าภาวะตลาดและอุปสงค์
จะผนั ผวนข้นึ ลง เพราะก ารปรับเปลย่ี นราคามกั เกิดต้นทุนค่าใชจ้ า่ ยตา่ งๆ ท�ำ ให้ก ารปรับเปล่ียนร าคา โดยเฉพาะ
อยา่ งยิง่ คือ การลดราคาท ำ�ไดย้ าก