Page 43 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 43
แนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลักในป ัจจุบัน 13-33
ผลผลิต รายได้ และการจ้างงานล ดล งม ากกว่าท ี่ควรจ ะเป็น กลายเป็นภาวะถดถอยท างเศรษฐกิจและก ารว่างง านโดย
ไม่ส มัครใจเกิดข ึ้นอ ย่างเรื้อรังในที่สุด
กจิ กรรม 13.3.3
สรปุ แนวคดิ แบบจำ�ลองค ่าจา้ งประสทิ ธิภาพ
แนวต อบก จิ กรรม 13.3.3
นายจา้ งบ างร ายเสนออ ตั ราค า่ จ า้ งแ กค่ นง านข องต นในร ะดบั ท สี่ งู ก วา่ ค า่ จ า้ งด ลุ ยภาพในร ะบบเศรษฐกจิ
เพอื่ ก ระตนุ้ ป ระสทิ ธภิ าพแ ละส รา้ งค วามภ กั ดขี องล กู จา้ ง แตร่ ะดบั ค า่ จ า้ งป ระสทิ ธภิ าพท �ำ ใหต้ ลาดแ รงงานม คี วาม
ไม่สมบูรณ์และเกดิ การว า่ งงานท ไ่ี มส่ มัครใจขน้ึ ได้
เร่ืองท ่ี 13.3.4
แบบจ ำ�ลองค นใน-คนนอก
นักเศรษฐศ าสตรเ์คนส เ์ซียนใหมเ่ชื่อว ่า การว ่างง านส ูงท ีเ่รื้อรังในร ะบบเศรษฐกิจม สี าเหตสุ ำ�คัญจ ากโครงสร้าง
ตลาดแ รงงานท ีไ่ มส่ มบรู ณอ์ ย่างย ิง่ อันเปน็ ผ ลม าจ ากป จั จัยห ลายป ระการด งั ก ล่าวม าแ ลว้ และป ัจจัยส �ำ คญั ป ระการห นึ่ง
ก็คือ ภาวะไม่แ ข่งขันในตลาดผลผลิตป ระจวบก ับภ าวะไม่แ ข่งขันในต ลาดแ รงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีท ี่บ ริษัท
เปน็ ผ ผู้ ลติ ในต ลาดแ ขง่ ขนั น อ้ ยร ายในต ลาดผ ลผลติ ซ ึง่ ห มายความว า่ บรษิ ทั เหลา่ น เี้ ปน็ น ายจา้ งน อ้ ยร ายในต ลาดแ รงงาน
ด้วย ในขณะเดียวกัน คนง านในอ ุตสาหกรรมเหล่าน ี้ก็มักจ ะม ีการร วมตัวกันจ ัดตั้งเป็นส หภาพแรงงานที่เป็นเอกภาพ
และเข้มแ ข็ง มอี ำ�นาจต ่อร องส ูงด ้วย ผลก ค็ ือ อัตราค ่าจ ้างแ ละเงื่อนไขก ารจ ้างง านในอ ุตสาหกรรมเหล่าน ีถ้ ูกก ำ�หนดจ าก
การต ่อรองระหว่างน ายจ้างน ้อยร ายก ับสหภาพแรงงานข นาดใหญ่ที่อ าจมีเพียงแ ห่งเดียวห รือม ีจ ำ�นวนน ้อย
นักเศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนใหม่ได้พัฒนาแบบจ ำ�ลองต ลาดแรงงานท ี่มีผู้ซ ื้อผู้ข ายน้อยรายขึ้น และพิจารณา
ถึงผ ลกร ะท บต ่อท ั้งคนง านท ีเ่ป็นส มาชิกส หภาพแรงงานแ ละค นง านท ีไ่มเ่ป็นส มาชิก ทั้งนี้ การต ่อร องค ่าจ ้างแ ละเงื่อนไข
การจ ้างง านโดยส หภาพแรงงานจ ะม ผี ลกร ะท บไปถ ึงค นง านท ีไ่มไ่ดเ้ป็นส มาชิกส หภาพด ้วย แบบจ ำ�ลองด ังก ล่าวเรียกว ่า
แบบจำ�ลองคนใน-คนนอก (Insider-Outsider Models) โดยที่ค นง านท ี่เป็นส มาชิกสหภาพแรงงานค ือ “คนใน” ส่วน
คนง านที่มิได้เป็นสมาชิกสหภาพก ็คือ “คนนอก”
ในสภาวะปรกติ คนงานของสหภาพจะมีอำ�นาจต่อรองสูงเพราะหากคนงานสหภาพลาออก นายจ้างจะไม่
สามารถจ้างงานคนใหม่มาแทนได้โดยง่ายเนื่องจากมีต้นทุนการรับสมัครและการฝึกอบรมคนงานใหม่ที่ค่อนข้างสูง
ในขณะเดียวกัน สหภาพแรงงานก็มีนโยบายกีดกันการจ้างคนงานใหม่ที่ไม่ได้เป็นสมาชิก ประการต่อมาคือ การต่อ
รองระหว่างนายจ้างน ้อยร ายกับส หภาพแรงงานม ักม ีผลให้ค ่าจ ้างต ามส ัญญาม ีอัตราส ูงกว่าอ ัตราต ลาด ทำ�ให้นายจ้าง
ซึ่งเป็นผ ู้ผลิตมีต ้นทุนแ รงงานสูงก ว่าตลาดแ ข่งขันปรกติ ผลก็ค ือ นายจ้างจะส ามารถจ ้างคนงานได้น้อยล ง ณ จุดกำ�ไร