Page 42 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 42
13-32 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจแ ละแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
เรอ่ื งท่ี 13.3.3
แบบจ�ำ ลองค ่าจ ้างประสทิ ธภิ าพ
นกั เศรษฐศ าสตรเ์ คนส เ์ ซยี นใหมส่ งั เกตว า่ มบี รษิ ทั จ �ำ นวนห นึง่ ท ยี่ อมจ า่ ยอ ตั ราค า่ จ า้ งท สี่ งู ก วา่ อ ตั ราต ลาดอ ยา่ ง
มากด ้วยเหตุผลท ี่ว ่า อัตราค ่าจ ้างท ี่ส ูงก ว่าต ลาดจ ะท ำ�ให้ค นง านม ีข วัญก ำ�ลังใจดี มีค วามซ ื่อสัตย์ต ่อน ายจ้าง มีแ นวโน้ม
การข าดงานแ ละก ารลาออกน้อยล ง ตลอดจนม ีป ัญหาด ้านแ รงงานสัมพันธ์น ้อยก ว่าบริษัทอื่นๆ ที่จ่ายค่าจ้าง ณ อัตรา
ตลาด นักเศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนจึงส ร้างแ บบจ ำ�ลองต ามแ นวทางด ังกล่าวโดยส มมติว่า ประสิทธิภาพข องค นงานม ี
ความส มั พนั ธใ์ นท างบ วกก บั ร ะดบั อ ตั ราค า่ จ า้ งท ีแ่ ทจ้ รงิ ท ไี่ ดร้ บั ถา้ อ ตั ราค า่ จ า้ งท ีแ่ ทจ้ รงิ ส งู ข ึน้ คนง านก จ็ ะม ปี ระสทิ ธภิ าพ
ในการทำ�งานส ูงข ึ้นเช่นกัน แบบจ ำ�ลองน ี้เรียกว่า แบบจ ำ�ลองค ่าจ ้างป ระสิทธิภาพ (Efficiency Wage Models)
โดยที่เป้าห มายของนายจ้างค ือก ารให้ได้ป ระสิทธิภาพแรงงานสูงสุดจากค ่าจ ้างที่แท้จริงต ่อหน่วย นายจ้างจะ
ค่อยๆ เพิ่มการจ้างงานขึ้นทีละหน่วยแรงงาน ในระยะแ รก ประสิทธิภาพแ รงงานจ ะเพิ่มขึ้นมากกว่าก ารเพิ่มอัตราค่า
จ้างท ี่แท้จริง แต่เมื่อระดับก ารจ ้างงานเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ประสิทธิภาพแ รงงานจ ะเพิ่มช ้าล ง กระทั่งในท ี่สุด ประสิทธิภาพ
แรงงานท ีเ่พิ่มข ึ้นจ ะเท่ากับอ ัตราค ่าจ ้างท ี่แทจ้ ริงพ อดี ณ จุดน ี้ นายจ้างจ ะม ตี ้นทุนต ่อห น่วยป ระสิทธิภาพแ รงงานท ีต่ ํ่าส ุด
หรือน ัยห นึ่ง ได้ร ับป ระสิทธิภาพแรงงานส ูงสุดจ ากก ารจ่ายค่าจ ้างท ี่แท้จ ริง
ในต ลาดแ รงงาน นายจ้างในห ลายๆ อุตสาหกรรมจะม ีนโยบ ายจ ้างง านในล ักษณะด ังก ล่าว โดยที่อ ัตราค ่าจ้าง
ที่แทจ้ ริงข องบ ริษัทเหลา่ น ีจ้ ะส ูงก ว่าร ะดับค ่าจ ้างด ลุ ยภาพข องต ลาดแ รงงานท ีม่ กี ารแ ขง่ ขนั แตอ่ ตั ราค า่ จ ้างป ระสิทธภิ าพ
ดังก ล่าวท ำ�ใหบ้ ริษัทแ ละอ ุตสาหกรรมอ ื่นต ้องจ ่ายอ ัตราค ่าจ ้างท ีส่ ูงข ึ้น ผลก ค็ ือ อุตสาหกรรมส ามารถจ ้างค นง านไดน้ ้อย
กว่าท ี่ค วรจ ะเป็น คนง านส่วนหนึ่งไม่สามารถห าง านท ำ�ได้ จึงเกิดก ารว ่างงานโดยไม่ส มัครใจ
เหตุผลท ีส่ นับสนุนค วามส ัมพันธท์ างบ วกร ะหว่างป ระสิทธิภาพข องแ รงงานก ับอ ัตราค ่าจ ้างท ี่แทจ้ ริงค ือ ค่าจ ้าง
ที่ส ูงก ว่าอ ัตราตลาดมากทำ�ให้ค นงานมีแ นวโน้มข ยันขึ้นท ำ�งานม าข ึ้น การถ ่วงง านน้อยลง เพราะหากถูกไล่อ อก คนง าน
จะห าง านที่ได้ร ับค ่าจ้างส ูงเท่าเทียมก ันได้ย าก นัยหนึ่ง ต้นทุนค วามเสียหายจ ากการถ่วงง านที่เกิดกับคนง านจ ะส ูงขึ้น
อีกประการหนึ่งคือ อัตราค่าจ้างที่สูงจะทำ�ให้คนงานมีการลาออกเพื่อเปลี่ยนงานน้อยลง ซึ่งช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่าย
ของนายจ้างที่ไม่ต้องรับสมัครและฝึกฝนคนงานใหม่อยู่ตลอดเวลา ผลก็คือ นายจ้างจะมีค นงานที่มีประสบการณ์สูง
อยู่ด้วยในระยะยาว นอกจากนี้ อัตราค่าจ้างที่สูงกว่าอัตราตลาดมาก ทำ�ให้คนงานมีขวัญกำ�ลังใจในการทำ�งานและมี
ความซื่อสัตย์ต ่อนายจ้างม ากข ึ้น คนงานก ็จ ะทำ�งานด ้วยความต ั้งใจแ ละม ีป ระสิทธิภาพสูงขึ้นด้วย
ประเด็นส ำ�คัญค ือ นายจ้างท ุกค นไมจ่ ำ�เป็นต ้องจ ่ายค ่าจ ้างท ีอ่ ัตราป ระสิทธิภาพด ังก ล่าว ขอเพียงม นี ายจ้างบ าง
ส่วนเท่านั้นท ี่จ่ายค ่าจ ้างด ังก ล่าว ตลาดแ รงงานก ็จะม ีภาวะไม่ส มบูรณ์ม ากพ อ และเกิดภ าวะว ่างง านโดยไม่ส มัครใจได้
เพราะจะมีคนงานจำ�นวนหนึ่งที่ยอมว่างงานเพื่อคอยโอกาสสมัครงานในบริษัทหรือในอุตสาหกรรมที่จ่ายอัตราค่าจ้าง
ประสิทธิภาพถึงแ ม้จะมีตำ�แหน่งง านว ่างในบ ริษัทห รืออ ุตสาหกรรมอ ื่นแ ต่จ ่ายอ ัตราค ่าจ้างต ํ่ากว่า
ข้อส ังเกตค ือ แบบจ ำ�ลองค ่าจ ้างป ระสิทธิภาพอ ธิบายว ่า อัตราค ่าจ ้างท ี่แท้จ ริงไม่ย ืดหยุ่น ซึ่งแ ตกต ่างจ ากแ บบ
จ�ำ ลองเคนส เ์ ซยี นเดมิ ท สี่ ว่ นใหญส่ มมตใิ หอ้ ตั ราค า่ จ า้ งต วั เงนิ ไมย่ ดื หยุน่ แบบจ �ำ ลองค า่ จ า้ งป ระสทิ ธภิ าพส ามารถอ ธบิ าย
ถึงปรากฏการณ์ว่างงานโดยไม่สมัครใจท ี่เกิดข ึ้นทั้งระบบได้ เช่น เมื่ออ ุปสงค์มวลรวมลดต ํ่าล ง และผ ู้ผ ลิตไม่ย อมลด
ราคาส ินค้าต ามภ าวะตลาด (ตามที่อธิบายในแบบจำ�ลองต้นทุนรายการราคา menu cost models) ในข ณะเดียวกันผู้
ผลิตก ็ต ้องการร ักษาอ ัตราค ่าจ ้างท ี่แท้จ ริงให้ค งที่ต ามแ บบจ ำ�ลองค ่าจ ้างป ระสิทธิภาพ ผลก ็คือ ผู้ผ ลิตจ ะร ักษาอ ัตราค ่า
จ้างต ัวเงินใหค้ งทีด่ ้วย แตก่ ารท ีท่ ั้งร าคาส ินค้าแ ละอ ัตราค ่าจ ้างต ัวเงินไมล่ ดต ํ่าล งในภ าวะอ ุปสงคม์ วลร วมถ ดถอย ทำ�ให้