Page 40 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 40
13-30 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและแ นวคิดท างเศรษฐศาสตร์
กจิ กรรม 13.3.1
สรปุ ข้อส มมติข องเศรษฐศาสตร์เคนส เ์ ซียนใหม่
แนวตอบก จิ กรรม 13.3.1
เศรษฐศ าสตรเ์ คนส เ์ ซยี นใหมส่ มมตวิ า่ ตลาดแ รงงาน และต ลาดผ ลผลติ ม คี วามไมส่ มบรู ณห์ ลายป ระการ
ทำ�ใหอ้ ัตราคา่ จา้ งต ัวเงนิ แ ละร าคาส นิ ค้ามีล กั ษณะไมย่ ืดหยุ่น ก่อใหเ้กดิ ภาวะวา่ งงานแ ละสนิ ค้าเหลือข ายได้
เร่อื งท่ี 13.3.2
แบบจ�ำ ลองตน้ ทุนร ายการราคา
แบบจ ำ�ลองเคนส ์เซียนในย ุคแ รกๆ มีข ้อส มมติให้ต ลาดผ ลผลิตม ีล ักษณะแ ข่งขันส มบูรณ์ซ ึ่งท ำ�ให้ร าคาส ินค้า
มีลักษณะย ืดหยุ่นและป รับตัวเพื่อตอบส นองต่อภ าวะขาดแคลนห รือล ้นเกินของส ินค้าได้อย่างรวดเร็ว ราคาส ินค้าถ ูก
กำ�หนดโดยกลไกตลาดคือ อุปสงค์และอุปทาน โดยผู้ผลิตหรือบริษัทไม่มีอิทธิพลใดๆ ต่อราคาสินค้าของตนและจะ
สามารถข ายสินค้าข องตนได้ห มดพ อดี ณ ระดับร าคาต ลาดน ั้นๆ ถ้าอ ุปสงค์ในต ลาดลดต ํ่าลงแต่ผู้ผ ลิตร ายใดไม่ย อม
ลดร าคาสินค้าข องตนต ามภาวะตลาด เขาก็จะข ายสินค้าข องต นไม่ได้เลยแม้แต่ห น่วยเดียว ฉะนั้นภ าวะตลาดแข่งขัน
สมบูรณ์จะทำ�ให้ผ ู้ผลิตต ้องข ายส ินค้าข องต น ณ ราคาตลาดซึ่งเป็นราคาดุลยภาพเท่านั้น ความส นใจข องนักเศรษฐ-
ศาสตร์เคนส์เซียนยุคแรกจึงพุ่งไปที่ความไม่ยืดหยุ่นของอัตราค่าจ้างตัวเงิน ว่าเป็นตัวการทำ�ให้ระบบเศรษฐกิจไม่
สามารถปรับตัวเข้าส ู่ภ าวะก ารจ ้างง านเต็มท ี่ได้
นักเศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนใหม่ได้หันมาทบทวนข้อสมมติฐานเหล่านี้และเห็นว่า มิเพียงอัตราค่าจ้าง
ตัวเงินในตลาดแ รงงานเท่านั้นท ี่ไม่ยืดหยุ่น แม้แต่ร าคาส ินค้าในตลาดผ ลผลิตก ็ไม่ยืดหยุ่นด ้วย และเห็นว ่า ข้อสมมติ
ที่ให้ต ลาดผลผลิตมีก ารแ ข่งขันส มบูรณ์ เป็นข ้อส มมติที่ไม่เหมาะสมแ ละไม่ส อดคล้องกับค วามเป็นจ ริง พวกเขาเชื่อว ่า
ตลาดผ ลผลิตม ีล ักษณะแ ข่งขันไม่ส มบูรณ์ โดยทีผ่ ู้ผ ลิตห รือบ ริษัทม ีอ ำ�นาจผ ูกขาดในต ลาดส ินค้าข องต นในร ะดับห นึ่ง
ฉะนั้น แม้อ ุปสงค์ในต ลาดจ ะล ดต ํ่าล งแ ละผ ู้ผ ลิตไม่ย อมล ดร าคาส ินค้าข องต นล งต ามภ าวะต ลาด เขาก ็จ ะข ายส ินค้าได้
น้อยล ง แต่ก็ไม่ถ ึงกับข ายสินค้าไม่ได้เลยดังเช่นกรณีตลาดแ ข่งขันส มบูรณ์ ในภาวะเช่นนี้ ผู้ผลิตท ี่ไม่ยอมลดราคาจะ
สูญเสียลูกค้าบางส ่วนให้กับผ ู้ผลิตอื่นท ี่ยอมลดราคา แต่จะยังคงมีรายรับจ ากก ารขายของตนโดยที่ปริมาณขายลดลง
และร าคาข ายย งั ส งู อ ยู่ ยิง่ ก วา่ น ัน้ ค อื หากผ ผู้ ลติ ท ัง้ หมดในร ะบบต า่ งย ดึ ต ามย ทุ ธวธิ เี ดยี วกนั ค อื ไมย่ อมล ดร าคาในภ าวะ
ตลาดต กตํ่า ผู้ผ ลิตแ ต่ละร ายจะม ีย อดขายลดลงในสัดส่วนเดียวกัน ทำ�ให้ส ่วนแ บ่งตลาดข องพ วกเขาไม่เปลี่ยนแปลง
การท ี่ผ ู้ผ ลิตไม่ย อมล ดร าคาแ ม้ในภ าวะต ลาดต กตํ่าก ็เพราะก ารล ดร าคาก ็เช่นเดียวก ับก ิจกรรมท างเศรษฐก ิจ
อื่นๆ คือมีผลป ระโยชน์และม ีต ้นทุนค ่าใช้จ ่าย ผู้ผลิตจะย อมลดร าคาก็ต่อเมื่อประโยชน์ท ี่ได้รับสูงก ว่าต ้นทุนท ี่เกิดขึ้น
แต่ถ้าต้นทุนความเสียหายที่เกิดจากการลดราคานั้นสูงกว่าประโยชน์ที่จะได้รับ ผู้ผลิตก็จะไม่ลดราคาสินค้า ต้นทุน
ดังก ล่าวเรียกว ่า ต้นทุนร ายการราคา (menu costs) แบบจ ำ�ลองน ี้จึงได้ชื่อว่าแบบจ ำ�ลองต้นทุนรายการราคา (Menu
Cost Models)