Page 44 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 44
13-34 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจแ ละแ นวคิดทางเศรษฐศาสตร์
สูงสุดข องตน ทั้งหมดนี้ ทำ�ให้ค นงานท ี่ไม่ใช่สมาชิกส หภาพหาง านได้ย ากและว ่างงานนานข ึ้นแม้ว่าเขาจะยอมรับอ ัตรา
ค่าจ ้างตลาดก ็ตาม นัยห นึ่ง พวกเขาก ลายเป็นผู้ว่างงานโดยไม่สมัครใจนั่นเอง
เมื่อระบบเศรษฐกิจเข้าสู่สภาวะถดถอย นายจ้างจำ�ต้องปลดคนงานบางส่วนออกแม้ว่าคนงานเหล่านี้จะเป็น
สมาชิกส หภาพอ ยู่ก ็ตาม เมื่อภ าวะถ ดถอยย ืดเยื้ออ อกไป คนง านเหล่าน ี้ก ็จ ะพ ้นจ ากส มาชิกภ าพข องส หภาพแรงงานไป
ในท ี่สุด ทำ�ให้จ ำ�นวนส มาชิกส หภาพห รือ “คนใน” ลดล งเรื่อยๆ ต่อม าร ะบบเศรษฐกิจฟื้นตัว ภาวะตลาดแ ละอุปสงค์
ดีขึ้น คนงานที่ยังมีงานทำ�อยู่และยังเป็นสมาชิกสหภาพก็จะเรียกร้องขึ้นอัตราค่าจ้างที่แท้จริงตามภาวะตลาดที่
กระเตื้องขึ้น ผลก ็ค ือ อัตราค่าจ ้างท ี่แท้จ ริงจ ะส ูงข ึ้น ทำ�ให้น ายจ้างไม่ส ามารถจ้างค นง านเพิ่มข ึ้นได้เท่าท ี่ค วรแ ม้ว่าภ าวะ
เศรษฐกิจจะดีข ึ้นแล้วก็ตาม คนง านท ี่ถ ูกกระทบก็ค ือ ผู้ว่างงานท ี่ม ิได้เป็นสมาชิกสหภาพหรือเป็น “คนนอก” นั่นเอง
โดยพวกเขากลายเป็นผู้ว่างงานโดยไม่สมัครใจเนื่องจากอัตราค่าจ้างที่สูงเกินไปอันเป็นผลมาจากการต่อรองค่าจ้าง
โดยคนงานสหภาพที่เป็น “คนใน” ระบบเศรษฐกิจที่มีโครงสร้างตลาดแรงงานที่ประกอบด้วยนายจ้างน้อยรายและ
สหภาพแรงงานเข้มแข็งจึงติดก ับดักป ัญหาการว ่างง านไม่ส มัครใจเรื้อรังท ี่อยู่ในระดับสูงแ ละยืดเยื้อย าวนาน
กจิ กรรม 13.3.4
สรุปแนวคิดแ บบจ ำ�ลองค นใน-คนนอก
แนวต อบกจิ กรรม 13.3.4
การม สี หภาพแรงงานท �ำ ใหอ้ ตั ราค า่ จ า้ งท ต่ี กลงก นั อ ยสู่ งู ก วา่ อ ตั ราค า่ จ า้ งด ลุ ยภาพ เปน็ ผ ลใหเ้ กดิ ก ารว า่ ง
งานโดยไม่สมัครใจขึ้น โดยผู้ว่างงานมักจะเป็นคนงานที่ไม่สังกัดสหภาพแรงงาน นอกจากนี้ ในภาวะเศรษฐกิจ
ถดถอย นายจ้างก็ไม่สามารถลดค่าจ้างและปลดคนงานออกได้เท่าท่ีควร และเม่ือเศรษฐกิจฟื้นตัว นายจ้างก็ไม่
สามารถจ ้างค นงานเพม่ิ ขึน้ ได้เพราะค า่ จา้ งท ี่สงู เกินไป