Page 35 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 35
แนวคิดเศรษฐศาสตร์ก ระแสห ลักในปัจจุบัน 13-25
• ผู้บริโภคปัจเจกชนแสวงหาอรรถประโยชน์สูงสุดภายใต้ข้อจำ�กัดงบประมาณเพื่อต ัดสินใจข้ามเวลา
ระหว่างก ารบริโภคแ ละการออม ระหว่างการท ำ�งานกับก ารพักผ่อน
• หน่วยผ ลิตแ สวงหาก ำ�ไรส ูงสุดภ ายใต้ข ้อจ ำ�กัดท างเทคโนโลยีแ ละร าคาป ัจจัยก ารผ ลิต ตัดสินใจข ้าม
เวลาร ะหว่างก ารผ ลิตปัจจุบันแ ละก ารล งท ุนเพื่อสต็อกทุนอนาคต
• ในตลาดผลผลิต หน่วยผ ลิตส นองผลผลิตขณะท ี่ผู้บ ริโภคตัดสินใจบ ริโภค (และออม)
• ในต ลาดแ รงงาน ผบู้ รโิ ภคเสนออ ปุ ทานแ รงงานข ณะท หี่ นว่ ยผ ลติ เสนอจ า้ งแ รงงาน ประม วลก บั ส ตอ็ ก
ปัจจัยทุน (เครื่องจักร) เพื่อผ ลิตผลผ ลิต ภายใต้ฟ ังก์ชันก ารผ ลิตม วลร วม
Y = zF(K, N)
ให้ Y = ผลผลิตมวลร วม
z = ผลิตภาพปัจจัยรวม (Total Factor Productivity)
K = สต็อกปัจจัยทุน
N = จำ�นวนก ารจ ้างง าน
วัฏจักรธุรกิจเกิดจ าก “ช็อก” (หรือการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหัน) ในผ ลิตภ าพปัจจัยร วม (ตัวแปร z) ที่ม ี
ลักษณะส ุ่ม เรียกว ่า “ชอ็ กผ ลติ ภ าพเชงิ ส มุ่ ” (Random Productivity Shocks) เช่น การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี สภาพ-
อากาศ ราคาพลังงาน การเปลี่ยนนโยบายรัฐบาลหรือกฎหมายที่ทำ�ให้กลไกตลาดทำ�งานมีประสิทธิภาพมากขึ้นหรือ
ล ดล ง บรรดา “ช็อก” ทางบ วกท ำ�ใหผ้ ลิตภ าพเพิ่มส ูงข ึ้น หน่วยผ ลิตใชป้ ริมาณป ัจจัยก ารผ ลิต (ทุนแ ละแ รงงาน) เท่าเดิม
แต่ผลิตผลผลิตได้มากขึ้น ในทางตรงข้าม “ช็อก” ทางลบทำ�ให้ผลิตภาพลดลง นอกจากนั้น การช็อกยังมีลักษณะ
“ยืดเยื้อ” (Persistence) คือ การช ็อกท างบวกหรือท างลบในป ัจจุบันม ีแนวโน้มยืดเยื้อไปสู่อ นาคต เช่น ผลิตภ าพข อง
ระบบเศรษฐกิจท ี่เพิ่มข ึ้นในปัจจุบันก็จะเพิ่มต่อเนื่องไปในอนาคต แต่จะมีขนาดข องผลกระทบอ ่อนลงเรื่อยๆ เป็นต้น
ช็อกผ ลิตภาพท างบวก เช่น การม าถึงข องเทคโนโลยีใหม่ สภาพอ ากาศดีก ว่าป กติ พลังงานม ีราคาลดล ง หรือ
รัฐบาลอ อกกฎหมายเปิดเสรี ทำ�ให้กลไกต ลาดทำ�งานได้มีประสิทธิภาพมากข ึ้น เป็นต้น หน่วยผลิตม ีผ ลิตภาพเพิ่มข ึ้น
ต้องการจ ้างแรงงานมากข ึ้น ค่าจ้างเพิ่มสูงขึ้น ผู้บริโภคเสนออุปทานแรงงานเพิ่มขึ้น การจ ้างงานเพิ่มขึ้น และผลผลิต
มากข ึ้น ขณะเดียวกัน รายได้ค ่าจ ้างที่เพิ่มส ูงขึ้นท ำ�ให้ผู้บริโภคมีร ายได้ที่ใช้จ ่ายได้ (Disposable income) เพิ่มข ึ้น จึง
ใช้จ่ายบริโภคและออมเพิ่มขึ้น ค่าจ ้างที่สูงขึ้นยังท ำ�ให้ผ ู้บ ริโภคล ดเวลาพักผ่อนล งแ ละทำ�งานมากข ึ้น จึงเสนออุปทาน
แรงงานเพิ่มข ึ้น นอกจากน ั้น ช็อกผ ลิตภ าพท างบ วกย ัง “ยืดเยื้อ” ไปถ ึงอ นาคต ทำ�ใหผ้ ลิตภ าพในอ นาคตเพิ่มข ึ้น หน่วย
ผลิตม ีแรงจูงใจเพิ่มก ารล งท ุนในสต็อ กท ุนม ากข ึ้น
ในท างตรงข ้าม ช็อกผลิตภาพทางล บ เช่น สภาพอ ากาศที่เลวก ว่าป กติ พลังงานมีร าคาส ูงขึ้น หรือรัฐบาลออก
กฎหมายจ ำ�กัดก ารท ำ�งานข องก ลไกต ลาด เป็นต้น หน่วยผ ลิตก ็จ ะม ีผ ลิตภ าพล ดล ง เกิดเป็นผ ลกร ะท บในท างต รงข ้าม
กับช็อกผลิตภาพทางบวก ตลอดจนลักษณะ “ยืดเยื้อ” ของช็อกทางลบ มีผลกระทบต่อเนื่องให้ผลิตภาพในอนาคต
ลดลงอีกด้วย
ลกั ษณะส �ำ คญั ข องท ฤษฎวี ฏั จกั รธ รุ กจิ จ รงิ ค อื วฏั จกั รธ รุ กจิ ห รอื ภ าวะข ึน้ ล งข องร ะบบเศรษฐกจิ ไมใ่ ชภ่ าวะน อก
ดุลยภาพห รือเป็น “ความล ้มเหลวข องต ลาด” ดังเช่นในท ฤษฎวี ัฏจักรธ ุรกิจข องเคนส เ์ซียนห รือก ารเงินน ิยม ในท างต รง
ขา้ ม ทฤษฎวี ฏั จกั รธ รุ กจิ จ รงิ เหน็ ว า่ ในภ าวะว ฏั จกั รธ รุ กจิ ทัง้ ช ว่ งร ุง่ เรอื งแ ละถ ดถอย ระบบเศรษฐกจิ อ ยใู่ นภ าวะด ลุ ยภาพ
ตลอดเวลา ผู้บริโภคบรรลุอรรถประโยชน์สูงสุดและหน่วยธุรกิจบรรลุกำ�ไรสูงสุดอยู่ตลอดเวลาบนสมมติฐานการ