Page 16 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 16

13-6 ประวัติศาสตร์เ​ศรษฐกิจ​และแ​ นวคิดท​ างเ​ศรษฐศาสตร์

       ใน​สถานการณ์​เช่น​นี้ นักเ​ศรษฐศาสตร์​จำ�นวน​หนึ่ง​นำ�​โดย ศาสตรา​จาร​ย์​มิลต​ ัน ฟรีด​ มัน (Milton Friedman)
แห่ง​มหาวิทยาลัย​ชิคาโก ได้​ลุก​ขึ้น​ท้า​ท้าย​ทฤษฎี​เศรษฐศาสตร์​มหภาค​แบบ​เคน​ส์ และ​รื้อฟื้น​ทฤษฎี​ปริมาณ​เงิน​ของ
​นี​โอค​ ลาสสิกข​ ึ้น​มา​ใหม่ โดยป​ รับปรุงใ​ห้ท​ ันส​ มัย หัน​มา​ให้​ความ​สำ�คัญ​กับป​ ริมาณเ​งินใ​นร​ ะบบเ​ศรษฐกิจแ​ ละน​ โยบาย​
การ​เงิน​ใน​ฐาน​ที่​เป็น​เครื่อง​มือ​สำ�คัญ​ใน​การ​รักษา​เสถียรภาพ​ของ​ระบบ​เศรษฐกิจ​ใน​ระยะ​ยาว แนว​ความ​คิด​ดัง​กล่าว​
ถูก​เรียก​ว่า แนวคิด​การ​เงิน​นิยม (monetarism) และน​ ักเ​ศรษฐศาสตร์ก​ ลุ่ม​นี้ก​ ็ได้​รับ​การข​ นานน​ ามว​ ่า นักการเ​งินน​ ิยม
(monetarists)

       ศาสตราจ​ ารย​ ์ม​ ิล​ตัน ฟรี​ดมัน (Milton Friedman, 1912-2006) จบ​การศ​ ึกษาป​ ริญญาต​ รี​จากม​ หาวิทยาลัย​
รัต​เจ​อร์ส (Rutgers University) ศึกษา​ระดับ​ปริญญา​โท​และ​เอก​ที่​มหาวิทยาลัย​ชิคาโก​และ​มหาวิทยาลัย​โคลัมเบีย
ฟรี​ดมัน​เข้า​เป็น​อาจารย์​ประจำ�​ที่​มหาวิทยาลัย​ชิคาโก​ใน​ปี 1948 และ​ทำ�งาน​กระทั่ง​เกษียณ​อายุ​ใน​ปี 1977 จาก​นั้น
ฟรี​ดมันไ​ด้​ย้าย​มา​เป็น senior fellow ที่​สถาบันฮ​ ู​เวอร์ (Hoover Institution) แห่งม​ หา​วิ​ทยา​ลัย​ส​แตนฟ​ ​อร์ด ฟรี​ดมัน​
ได้​เป็น​ประธาน​สมาคม​เศรษฐศาสตร์​อเมริกัน​ใน​ปี 1967 และ​ได้​รับ​รางวัล​โน​เบล​สาขา​เศรษฐศาสตร์​ใน​ปี 1976
นอกจาก​นี้ ฟรี​ดมัน​ยัง​เป็น​นัก​เขียน​คอลัมน์​ประจำ�​ให้​กับ​หนังสือ​พิมพ์​นิวส์​วีค ตี​พิมพ์​หนังสือ​ขาย​ดี​มาก​หลาย​เล่ม
ตลอด​จน​เข้าร​ ่วม​รายการ​โทรทัศน์เ​พื่อ​การศ​ ึกษาแ​ ละบ​ รรยาย​พิเศษ​แก่ส​ าธารณชน​อย่าง​สมํ่าเสมอ​อีกด​ ้วย

  กจิ กรรม 13.1.1
         อธบิ าย​ทรรศนะข​ อง​นักเ​ศรษฐศาสตรต​์ อ่ บ​ ทบาท​ของป​ รมิ าณเ​งินใ​นร​ ะบบเ​ศรษฐกจิ ​ทั้งใ​นช​ ่วง​ก่อน​และ​

  หลงั ส​ งครามโลกค​ ร้ัง​ท่​ีสอง

  แนว​ตอบ​กิจกรรม 13.1.1
         ปริมาณ​เงิน​เป็น​แนวคิด​ทฤษฎี​ท่ี​นัก​เศรษฐศาสตร์​ก่อน​เคน​ส์​ใช้​ใน​การ​วิเคราะห์​กิจกรรม​เศรษฐกิจ​และ​

  ระดับ​ราคา​มวล​รวม แต่​การ​แพร่​ขยาย​ทฤษฎี​ของ​เคน​ส์​หลัง​สงครามโลก​ครั้ง​ที่​สอง​ทำ�ให้​ความ​สนใจ​ต่อ​บทบาท​
  ของ​ปรมิ าณ​เงนิ ​ลด​นอ้ ย​ลง จน​กระทั่ง​ได้​รับก​ าร​รือ้ ฟน้ื แ​ ละพ​ ัฒนา​ใหม​่โดยแ​ นวคิดก​ าร​เงนิ ​นิยม
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21