Page 33 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 33

หลักและเทคนคิ การผลิตรายการเพลง 6-23
       จากภาพขา้ งต้น สถานีวทิ ยุกระจายเสยี ง F.M. 89.0 MHz. มภี าพลักษณ์จุดยนื เปน็ สถานเี พลง
เพราะ ฟงั ง่ายๆ สบายๆ
       จากตัวอย่างขา้ งต้น จะเห็นว่าสถานีเพลงแตล่ ะคล่นื ได้ก�ำหนดภาพลกั ษณข์ องสถานชี ัดเจนเป็น
วา่ จะ “คลืน่ เพลงแนวใด” แลว้ ก็จึงตอ้ งธำ� รงรกั ษาภาพลกั ษณน์ ั้นๆ ไว้ใหค้ งที่ เช่น หากเป็นสถานีเพลง
ฟังสบายลักษณะแนวเพลงที่เปิดก็จะต้องนุ่มนวล ถ้าเป็นสถานีเพลงตามกระแสนิยมเน้นการเปิดเพลงฮิต
ท๊อปโฟร์ต้ี ก็ต้องคงความเป็นสถานีเพลงท๊อปโฟร์ต้ี หรือเป็นสถานีเพลงลูกทุ่งก็เปิดเพลงลูกทุ่ง เป็นต้น
ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหผ้ ฟู้ งั ทเ่ี ปน็ กลมุ่ เปา้ หมายซง่ึ รบั รแู้ บรนดข์ องคลนื่ นนั้ ๆ และคาดหมายวา่ จะไดฟ้ งั เพลงในแนวใด
ไม่ผิดหวงั เม่อื เปิดฟังเพลงจากสถานีน่ันเอง
       ด้วยเหตุน้ีเองในการผลิตรายการเพลง เพ่ือให้สถานีมีภาพลักษณ์ของคลื่นตามท่ีก�ำหนดไว้
การผลิตรายการเพลงจึงต้องมี แนวทางการผลิตรายการ คล็อก และ/หรือบทวิทยุ เป็นกรอบก�ำกับใน
การผลติ รายการ

แนวทางการผลิตรายการ

       ในโลกของการกระจายเสยี ง “ภาพลกั ษณ์ และแนวเพลง” ทส่ี ถานวี ทิ ยแุ ตล่ ะคลน่ื กำ� หนดไว้ อาจ
ใกล้เคียงกัน เช่น เป็นเพลงแนว “ฟังสบาย” เหมือนๆ กัน ดังตัวอย่างจากภาพที่ 6.4 และภาพท่ี 6.5
หากเปรียบเทียบภาพลักษณ์และจุดยืนของสถานีเพลง 2 คลื่นน้ี จะเห็นภาพลักษณ์และจุดยืนของคล่ืน
“89 banana fm” คลา้ ยกับ “Eazy FM” อีซี่ เอฟเอม็ โดยแนวเพลงทจ่ี ะนำ� เสนอนนั้ เป็นแนวเพลงฟงั
สบาย จงึ อาจเรยี กไดว้ ่าเป็นสถานีท่ีมกี ล่มุ เปา้ หมายผฟู้ ังกลุ่มใกลเ้ คียงกนั

        ดงั น้นั ทีมผูจ้ ดั รายการจึงมหี นา้ ทใี่ นการน�ำ “ภาพลกั ษณ์ และแนวเพลง” มาสรา้ งสรรคแ์ นวทาง
การผลิตรายการ ก�ำหนดรายละเอียด โดยสร้างความแตกต่างท่ีจะสามารถดึงดูดผู้ฟัง เพื่อให้มีส่วนแบ่ง
ผู้ฟัง (Share of Audience หรือ SOA) จ�ำนวนมากพอที่จะด�ำรงอยู่ได้ ซึ่งความนิยมของผู้ฟังที่มีต่อ
สถานี เปน็ ขอ้ ไดเ้ ปรยี บสำ� หรบั สถานเี พลง ซงึ่ เปน็ สถานเี พอื่ การคา้ หากสถานใี ดไดร้ บั ความนยิ มสงู อตั รา
ค่าโฆษณาก็จะสูงตามไปด้วย (Keith, 1993)

       ทัง้ น้แี นวทางการผลิตรายการของสถานเี พลงนั้น จะไดร้ บั การวางแผน กำ� หนดเพ่อื ใหส้ อดคล้อง
และน�ำไปสภู่ าพลักษณข์ องสถานี และแบรนดข์ องคลนื่ ท่ีก�ำหนดไว้ เพ่อื ใหด้ ีเจ และทมี ผลติ รายการน�ำมา
เป็นกรอบกำ� กบั การผลติ รายการเพ่ือออกอากาศในช่วงเวลาตา่ งๆ ของสถานีตอ่ ไป

       ตวั อย่างหน่ึงทจี่ ะน�ำมาอธิบาย เช่น สถานีวิทยกุ ระจายเสียง F.M. 89.0 MHz. ซึง่ บริหารงาน
โดย เอไทม์ มีเดีย ในยุคหนึ่ง ได้ก�ำหนดให้ สถานีวิทยุกระจายเสียง F.M. 89.0 MHz. มีภาพลักษณ์
จดุ ยนื เปน็ คลื่น “89 banana fm” สถานีเพลงเพราะ ฟังงา่ ยๆ สบายๆ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38