Page 36 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 36
6-26 การผลติ รายการวทิ ยุกระจายเสยี งข้นั สงู
เสนอสผู่ ฟู้ งั (Edwin T. Vane, 1994) ดงั นนั้ ทมี ผลติ รายการจงึ มหี นา้ ทใี่ นการนำ� คลอ็ กมาเปน็ กรอบกำ� กบั
การผลติ รายการทจ่ี ะนำ� ไปออกอากาศในชว่ งเวลาตา่ งๆ ของสถานี เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งและนำ� ไปสภู่ าพลกั ษณ์
ของสถานี และแบรนด์ของคลื่นท่กี ำ� หนดไว้แลว้
การก�ำหนดคล็อกโดยหลักใหญ่ๆ การวางแผนก�ำหนดคล็อกของสถานีเพลงก็มักจะอิงวัน เวลา
การกระจายเสียง ดงั นั้นโดยภาพรวมสถานเี พลงจะมีคลอ็ กประจำ� วนั และประจ�ำเวลา ได้แก่
1. คล็อกประจ�ำวัน ส�ำหรับวันท�ำงานจันทรถ์ งึ ศกุ ร์ (weekday) และคล็อกสำ� หรบั วันหยุดเสาร์
อาทิตย์ (weekend)
2. คล็อกประจ�ำเวลา สำ� หรับชว่ งไดร์ฟ ไทม์ “Drive time” และชว่ ง “นนั ไดรฟ์ ไทม์ Non
Drive time” สาเหตทุ แี่ บง่ ชว่ งเวลาการกระจายเสยี งเปน็ สองชว่ งใหญๆ่ เพราะแมส้ ถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี ง
ส่วนมากจะออกอากาศตลอดเวลา 24 ชั่วโมง แต่การฟังวิทยุของผู้ฟังในแต่ละรอบวัน (daily radio
audience patterns) น้ันจะแตกต่างกันไปในแตล่ ะชว่ งเวลา ดงั น้ี
70%
60%
50%
40%
30% RADIO
20%
10%
6A.M. 7 8 9 10 11 12N 1PM 2 3 4 5 6PM 7 8 9 10 11 12M
ท่ีมา: A.C. Nielsen Co., 1994. ภาพท่ี 6.7 การฟังวิทยุในรอบวัน
จากภาพที่ 6.7 จะสังเกตได้ว่า วทิ ยุมีบทบาทต่อผู้คนมากในชว่ งเชา้ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ระหวา่ ง
6.00 ไปจนถึง 10.00 นาฬิกา หลังจากนั้นระดับการเปิดรับฟังจะลดลงในช่วงบ่าย และจะค่อยไต่ระดับ
ในช่วงเย็นที่ผู้ฟังจะกลับเข้ามาใช้บริการส่ือวิทยุกระจายเสียงอีกรอบ จากนั้นระดับการฟังจะลดต่ําในช่วง
กลางคนื ซ่งึ เปน็ ชว่ งทผี่ ูค้ นเปล่ียนไปเปดิ รับส่อื โทรทัศน์แทนการฟงั วทิ ยุ
เชน่ เดยี วกนั กบั สงั คมไทยซงึ่ มคี วามเปน็ สงั คมเมอื งทม่ี กี ารเปดิ รบั สอื่ ไมแ่ ตกตา่ งจากสงั คมอเมรกิ นั
มากนกั ดงั นนั้ การแบง่ ชว่ งเวลาการออกอากาศสำ� หรบั สอ่ื วทิ ยกุ ระจายเสยี งจงึ พจิ ารณาตามแนวทางทเ่ี ปน็
สากลซงึ่ โดยหลกั ใหญๆ่ จะแบง่ เวลาการกระจายเสยี งเปน็ ชว่ งไดรฟ์ ไทม์ “Drive time” และ “นนั ไดรฟ์
ไทม์ Non Drive time”