Page 48 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 48
6-38 การผลิตรายการวิทยกุ ระจายเสยี งข้นั สงู
2.2 การเชื่อมแบบไม่มีช่วงหยุด หรือ ท่ีเรียกว่า “segue” อ่านว่า sey-gwey มาจากภาษา
อิตาเลียน แปลว่า ตามมา (to follows) เป็นการเชื่อมระหว่างเพลงสองเพลงเช่นเดียวกัน แต่ความ
แตกตา่ งของการเชื่อมโยงลกั ษณะนี้ คอื เปน็ การเชอ่ื มแบบไม่มชี ว่ งหยดุ (to continue at once) ดังน้ี
1) การเช่ือมเพลงตดิ ตอ่ กนั ตอ่ เนอื่ ง (Straight Segue) การเชอื่ มลกั ษณะเชน่ นเ้ี ปน็ การเปดิ
เพลงสองเพลงตดิ ต่อกันไมม่ ีชว่ งหยุด โดยใชก้ าร CROSS FADE ชว่ งท้ายของเพลงแรกกับช่วงตน้ ของ
เพลงใหม่ ดังภาพที่ 6.14
Straight segue
ภาพที่ 6.14 การเช่ือมเพลงติดต่อกันต่อเนื่อง
2) การเช่ือมเพลงติดต่อกันพร้อมค�ำพูด (Segue under speech) เป็นการเชื่อมระหว่าง
เพลงสองเพลงตดิ ตอ่ กนั ไมม่ ีช่วงหยุด แต่จะ FADE DOWN เสียงเพลงแรกลงเพื่อพูด พรอ้ มกันนน้ั จะ
FADE IN อีกเพลงหนึ่งเข้ามา แลว้ จึง FADE UP เสียงเพลงนั้นขึ้น เมอ่ื พูดจบ ดังภาพที่ 6.15
Straight under speech
ภาพท่ี 6.15 การเช่ือมเพลงติดต่อกันพร้อมค�ำพูด
วธิ กี ารในการผสานเสยี งพดู ตา่ งๆ เขา้ กบั เสยี งเพลงดงั กลา่ วนี้ อาจเลอื กใชห้ ลายวธิ เี พอื่ สรา้ ง
ความหลากหลาย ทง้ั น้คี วรค�ำนึงถึงกลุ่มผฟู้ งั เป้าหมายเปน็ สำ� คัญ เพราะผฟู้ ังบางกลมุ่ อาจไม่ชอบการพูด
ซ้อนบนชว่ งทา้ ยของเพลง แตอ่ าจชอบการเช่อื มแบบไมม่ ีช่วงหยดุ ขณะทบี่ างกลุ่มอาจชอบการพดู คุยน�ำ
ในช่วง introduction ก่อนถงึ เน้ือรอ้ ง เพราะทำ� ให้รสู้ ึกวา่ มเี พื่อนคุย เป็นตน้
อย่างไรก็ตามในการน�ำเสนอรายการเพลงนั้น นอกเหนือจากการผสานเสียงพูดและเสียง
เพลงเข้าด้วยกันดังอธิบายข้างต้นแล้ว อาจสร้างความมีชีวิตชีวาให้กับรายการด้วยวิธีการต่างๆ ตัวอย่าง
เช่น
- การสอดแทรกเสยี งประกอบ (sound effect) เชน่ เสยี งปรบมอื เสยี งเอคโค่ (echo)
เสียงตคี อรด์กีตาร์ (guitar chords) ในช่วงจงั หวะต่างๆ ท่ีเหมาะสม เปน็ ตน้
- การน�ำเสียงสมั ภาษณ์เข้ามาประกอบในบางชว่ งของรายการเพลง เชน่ สัมภาษณ์
ศลิ ปนิ ผปู้ ระพันธ์เพลง เป็นตน้