Page 49 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 49
หลักและเทคนิคการผลติ รายการนติ ยสารทางอากาศและรายการปกณิ กะ 8-39
กลมกลนื ไมค่ วรมเี นอื้ หารายการทมี่ สี ดั สว่ นเวลาเทา่ ๆ กนั มรี ปู แบบเหมอื นๆ กนั ตลอดทงั้ รายการ เพราะ
จะทำ� ให้รายการราบเรยี บ นา่ เบื่อ ไมน่ า่ สนใจฟงั เปรยี บเสมอื นเสยี งเพลง ถ้าไมม่ เี สียงสูงเสียงตาํ่ ก็ขาด
ความไพเราะไม่น่าจะเรียกวา่ เสยี งเพลงได้
ตัวอย่าง เทคนิคการวางโครงสร้างรายการวิทยาศาสตรน์ า่ รู้ ความยาวรายการ 30 นาที
ล�ำดับท่ี หัวข้อเร่ือง รูปแบบ ความยาว/นาที
1 Child media.net สนทนา 8
2 ดาวเทยี มลกู เตา๋ จวิ๋ แตแ่ จ๋ว พูดคุย 4
3 ภยั จากเตาไมโครเวฟลวกเด็ก สัมภาษณ์ 7
4 โรงไฟฟ้าพลงั ข้ไี กท่ ่ฮี อลนั ดา บทความ 3
5 มารจู้ ักแอรไ์ มไ่ ลค่ วามชื้น พดู คุย 4
6 การเปดิ -ปิดรายการ/ดนตรีคั่น/บทเชอื่ มโยง 3
1.3 การสร้างพฤติกรรมของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายให้ติดตามเนื้อหาอย่างต่อเน่ืองจนเป็นนิสัย
รายการนิตยสารทางอากาศท่ีมีการก�ำหนดเวลาแน่นอนไม่เลื่อนไปเล่ือนมา จะท�ำให้ผู้ฟังเปิดวิทยุฟังโดย
อตั โนมัติมาทสี่ ถานีเมือ่ ถงึ เวลา เช่น รายการเพ่ือเกษตรกร ออกอากาศเวลา 05.30-06.00 น. ผูฟ้ งั กลุม่
เปา้ หมายยอ่ มเปดิ ฟงั และหากมชี ว่ งเวลาประจ�ำในรายการ เชน่ เกษตรกรทตี่ อ้ งการทราบความเคลอื่ นไหว
ของราคาสนิ ค้าเกษตร ซึง่ ในรายกรน�ำเสนอเป็นขา่ วในรายการเวลา 05.50 น. กลุ่มผ้ฟู งั เป้าหมายหลักก็
จะรอฟังโดยอัตโนมัติ ดังน้ัน การเล่ือนเวลาไป-มาอาจไม่ใช่สิ่งท่ีดีเท่าไรนัก ผู้ผลิตรายการจ�ำเป็นต้องมี
เวลาหลักส�ำหรบั ผู้ฟังเฉพาะดว้ ยเป็นการสร้างพฤตกิ รรมของกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายใหต้ ิดตามฟงั เนื้อหาอย่าง
ต่อเน่ือง
1.4 การเชอ่ื มโยงรายการ นบั เปน็ เทคนคิ สำ� คญั ของรายการนติ ยสารทางอากาศ เพราะการเชอื่ มโยง
รายการเป็นการสร้างความเป็นเอกภาพ (Unity) หรือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันให้กับรายการ การ
เช่อื มโยงรายการสามารถท�ำได้ทง้ั ด้วยค�ำพดู /หรือบทเช่อื มโยง เสียงดนตร/ี เพลง หรอื เสียงประกอบ
- การเช่ือมโยงด้วยค�ำพูด ผู้ผลิตรายการต้องสามารถใช้ถ้อยค�ำได้เหมาะสมสอดคล้องกับ
เนอ้ื หาของเรอ่ื ง โดยการเชอื่ มโยงจากเรอ่ื งหนง่ึ ไปสอู่ กี เรอื่ งหนง่ึ ซง่ึ เปน็ การเชอ่ื มโยงความรสู้ กึ ของผฟู้ งั ให้
ต่อเนื่องกันไป สามารถท�ำในลักษณะใช้ผู้ร่วมรายการเป็นตัวเช่ือมโยง ใช้ประเด็นส�ำคัญเป็นตัวเชื่อมโยง
ใช้สถานท่ีเวลาเป็นตัวเชื่อมโยง ใช้สุภาษิต คำ� พังเพย หรือส�ำนวนโวหารเป็นตัวเชื่อมโยง (สุมน อยู่สิน,
2547: 194-195)