Page 51 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 51
หลกั และเทคนิคการผลิตรายการนติ ยสารทางอากาศและรายการปกิณกะ 8-41
2. เทคนิคการใช้เสียงดนตรี/เพลง และเสียงประกอบ
รายการนติ ยสารทางอากาศเปน็ รายการสาระบนั เทงิ การใชเ้ สยี งดนตรี เสยี งเพลงเพอ่ื สรา้ งความ
เพลิดเพลนิ ใจเป็นส่ิงที่จำ� เป็นในรายการเสยี งดนตรแี ละเสยี งเพลง สามารถทำ� ให้รายการนา่ สนใจ คอื
เสียงดนตรี ได้แก่ ดนตรีเปิด-ปิดรายการ ดนตรีค่ันรายการ เสียงเพลง ได้แก่ เพลงท่ีเป็น
ส่วนหน่งึ ของเนือ้ หา เพลงทใี่ ชเ้ ชอ่ื มโยงรายการ
ดนตรี ทีเ่ ปดิ -ปิดรายการ หรือ signature tune ผูผ้ ลิตรายการและทีมงาน จ�ำเปน็ ต้องพิถีพิถัน
ในการคัดเลือกดนตรี เพราะรายการนิตยสารมี 5 ประเภท และแต่ละประเภทก็ยังแยกย่อยลงไป เช่น
นิตยสารเฉพาะกลุ่มฟัง หากกลุ่มผู้ฟังท่ีเป็นผู้หญิง ดนตรีน�ำรายการจะมีความแตกต่างตามอายุ อาชีพ
สภาพแวดล้อมของผู้หญิง นิตยสารที่มีกลุ่มผู้ฟังเป้าหมายเป็นเด็ก เด็กอายุเท่าใด ดนตรีท่ีใช้ย่อมใช้
แตกตา่ งกนั นอกจากแยกยอ่ ยตามกลมุ่ แลว้ ยงั ตอ้ งสมั พนั ธก์ บั เวลาในการนำ� เสนออกี วา่ เปน็ เชา้ สาย บา่ ย
เยน็ กลางคืน ล้วนแล้วแตต่ ้องการอารมณข์ องดนตรแี ตกตา่ งกันออกไป การเลอื กดนตรนี ำ� รายการ หรือ
เปดิ -ปดิ รายการจงึ ตอ้ งพถิ พี ถิ นั เพราะจะทำ� ใหผ้ ฟู้ งั จดจำ� รายการของเราได้ นอกจากดนตรเี ปดิ ปดิ รายการ
แล้ว ยังมีดนตรีค่ันรายการ ซึ่งผู้ผลิตรายการและทีมงาน จ�ำเป็นต้องพิถีพิถันในการคัดเลือกดนตรีเช่น
เดยี วกัน เสยี งดนตรีจะต้องเหมาะสม สอดคล้องกบั เรือ่ งใชว่ า่ เปน็ เสียงดนตรบี รรเลงแล้วสามารถน�ำมาใส่
ในรายการทุกเพลงไดเ้ ลย
ส�ำหรับเสียงเพลงนั้น ดังท่ีได้กล่าวมาแล้ว เพลงในรายการนิตยสารทางอากาศใช่ว่าจะใช้เพลง
อะไรใส่ลงไปก็ได้ เพราะรายการนติ ยสารต้องมคี วามเปน็ เอกภาพ เพลงที่ใช้เชอื่ มเรื่องแตล่ ะเร่อื งควรเปน็
เพลงทมี่ เี นอ้ื หาเกย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื งราวทนี่ �ำเสนอ และตอ้ งเลอื กนกั รอ้ งใหเ้ หมาะสมกบั เนอื้ หา ยคุ สมยั อารมณ์
ของรายการด้วย เพราะเพลงหลายเพลงไม่ได้มีผู้ร้องเพียงคนเดียว เช่น เพลงจงรัก มีผู้ร้องท้ัง สุเทพ
วงศ์ก�ำแหง ทิพย์วรรณ ปิ่นภิบาล จันทนี อูนากูล หรือเพลงมนต์รักลูกทุ่ง มีผู้ร้องท้ังไพรวัลย์ ลูกเพชร
ยอดรกั สลกั ใจ ซ่ึงต่างยุคต่างสมัยกนั มีผลต่อผฟู้ ังและเนื้อหาในรายการ
เสยี งประกอบ เทคนคิ การใชเ้ สยี งประกอบในรายการ คอื สมจรงิ เหมาะสมกบั เนอ้ื หา การใชเ้ สยี ง
ประกอบเพอื่ สรา้ งมติ ขิ องการฟงั รายการ เสยี งประกอบจะสอ่ื ถงึ อารมณ์ เวลา สถานที่ ฤดกู าล เหตกุ ารณ์
โดยไมต่ อ้ งใชค้ ำ� พดู มาบรรยายใหเ้ ยนิ่ เยอ้ หรอื ฟงั เสยี งบรรยายราบเรยี บไปเรอื่ ยๆ ไมม่ อี ะไรมาดงึ ดดู ความ
สนใจผู้ฟงั เสียงประกอบมักใช้ในรูปแบบละคร สารคดี แทนบทเจรจาหรือบทบรรยายได้
3. เทคนิคการด�ำเนินรายการ
ผู้ด�ำเนินรายการนิตยสารทางอากาศมีส่วนส�ำคัญยิ่งในรายการ รายการท่ีมีความยาว 60 นาที
หรือ 30 นาที สามารถมีผูด้ �ำเนินรายการได้ 2 คน ควรเปน็ 2 คน ทัง้ ผ้หู ญงิ หรือผ้ชู ายไมค่ วรเปน็ เพศ
เดยี วกนั เพราะบางครั้งผู้ฟังจะแยกนา้ํ เสียงไม่ไดว้ า่ ใครเปน็ ใคร หากเปน็ เพศเดยี วกนั มอี ายุใกลเ้ คียงกัน
โดยเฉพาะผ้หู ญิงซ่ึงมเี สยี งนุ่มนวลคล้ายๆ กัน การท่ีนาํ้ เสียงมคี วามหลากหลายกท็ ำ� ให้รายการไม่นา่ เบอ่ื
ผดู้ ำ� เนนิ รายการทมี่ คี วามสามารถจะทำ� ใหร้ ายการฟงั แลว้ เพลดิ เพลนิ มอี รรถรส จริ าภรณ์ สวุ รรณวาจกกสกิ จิ
ไดอ้ ธบิ ายถงึ เสยี งพดู ทช่ี วนฟงั เกดิ จาก อวจั นภาษาทส่ี อ่ื สารสผู่ ฟู้ งั ดว้ ยโทนเสยี งสงู -ตาํ่ ระดบั ความดงั คอ่ ย
ของเสียง อารมณข์ องผู้พูด วิธกี ารถา่ ยทอดสาร ตลอดจนลลี าการน�ำเสนอสารต่อผฟู้ ัง