Page 36 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 36
12-24 การบริหารงานภาพยนตร์
1. ทุนส่วนตัว (self/private funding) คอื แหลง่ เงนิ ทนุ ทสี่ ะดวกทส่ี ดุ สำ� หรบั คนทพี่ รอ้ ม หรอื เปน็
ทางเลือกสุดทา้ ยท่ีอาจจะเกิดขน้ึ เมอ่ื เจ้าของโพรเจก็ ต์ เจรจาธุรกิจหรือขอทุนไม่ผ่าน ทุนในลกั ษณะน้ีอาจ
จะมาได้จากทุนทรัพย์ส่วนตัว (เงินออม) การกู้ยืมจากธนาคาร เงินจากการขาย/จ�ำนอง/จ�ำน�ำทรัพย์สิน
ส่วนตวั รวมไปถงึ การหยิบยมื คนใกล้ตวั อาทิ พอ่ แม่ ญาติ หรอื กระท่งั เพ่อื นสนิท
การลงทนุ ดว้ ยตวั เองนนั้ ไมใ่ ชท่ างเลอื กทเี่ ลวรา้ ย แตใ่ นทางกลบั กนั ทนุ สว่ นตวั อาจจะเปน็ ทางเลอื ก
ให้กับผู้ก�ำกับหน้าใหม่ (first-time filmmaker) ที่ไม่เคยมีประสบการณ์ ไม่เคยมีผลงานภาพยนตร์มา
ก่อน ในบางคร้ังการลงทุนด้วยตนเองน้ัน ก็ไม่ได้หมายความว่าผู้สร้างจะต้องแบกรับต้นทุนด้วยตนเอง
ตลอดทั้งกระบวนการการผลิตภาพยนตร์ ยังมีกรณีท่ีผู้สนับสนุนเข้ามาร่วมลงทุนในระหว่างการสร้าง
ภาพยนตร์ก็มี ในรายที่ไม่มปี ระสบการณ์ การเริ่มต้นสรา้ งภาพยนตรด์ ว้ ยทุนตนเองนน้ั ถอื เปน็ การเรม่ิ ตน้
สร้างต้นทุนทางด้านประสบการณ์การสร้างภาพยนตร์ให้กับตนเอง และย่ิงหากมีรางวัลติดตัวมาด้วยแล้ว
ก็จะย่ิงเป็นการสร้างชื่อ หรือสร้างเครดิตให้กับตนเองได้เป็นอย่างดี และจะช่วยเพ่ิมโอกาสท�ำให้ผู้ก�ำกับ
หรอื ผ้สู รา้ งหนา้ ใหมเ่ หล่านน้ั เขา้ ถงึ ทุนจากแหลง่ อื่นๆ ได้กวา้ งขวางมากขน้ึ
ยกตัวอย่างจากกรณีศึกษาการสร้างภาพยนตร์ด้วยทุนส่วนตัวของ Dennis Dortch ผู้ก�ำกับ
โปรดวิ เซอร์ ผเู้ ขยี นบท และผตู้ ดั ตอ่ ภาพยนตรน์ อกกระแสเรอ่ื ง A Good Day to Be Black and Sexy
(2008-US) กลา่ ววา่ จะไมม่ ผี ใู้ หท้ นุ คนใดสนใจในตวั ผขู้ อทนุ เลย หากเขาเหลา่ นนั้ ยงั ไมเ่ คยมปี ระสบการณ์
สร้างภาพยนตร์ขนาดยาว (feature film) มาก่อน จากน้ัน Dortch ตัดสินใจเดินหน้าสร้างภาพยนตร์
โดยใช้ทุนของตนเอง ภาพยนตร์เร่ืองดังกล่าวภายหลังได้รับทุนในการท�ำ post-production จากสามี
ภรรยาคู่หน่ึงที่ได้ดูภาพยนตร์ของ Dortch ท่ีได้ไปฉายที่ Sundance Film Festival ในปี 2008
นอกจากน้ีแล้ว A Good Day to Be Black and Sexy ยงั ไดไ้ ปฉายในงาน Austin Film Festival
และ AFI Festival ท่ี Hollywood อีกดว้ ย (Nikki, 2008) หรือในกรณีของภาพยนตรส์ ารคดเี รื่อง The
Linguists (2008-US) ที่ทีมงานสร้างออกทุนเดินทางไปถ่ายท�ำภาพยนตร์ในไซบีเรียด้วยตนเอง และ
สามารถถ่ายทำ� ไปได้ทง้ั หมด 20% ของโปรดกั ชน่ั หลงั จากนนั้ ทีมงานกน็ ำ� ภาพเคลอ่ื นไหว (footage) ที่
ถา่ ยทำ� มาแล้วมารวบรวม แลว้ แนบเปน็ วีดิทศั นป์ ระกอบเขา้ ไปกบั แพ็กเกจ ก่อนท่จี ะส่งไปขอทนุ จากทาง
รัฐบาล และประสบความส�ำเรจ็ ได้รบั ทุนในทสี่ ุด (Nikki, 2008)
สว่ นในฝง่ั ของประเทศไทยนนั้ ภาพยนตรน์ อกกระแสเรอ่ื งดงั อยา่ ง ผบู้ า่ วไทบา้ น อสี านอนิ ด้ี (2556)
ของผกู้ ำ� กบั มอื ใหมอ่ ยา่ งอเุ ทน ศรรี วิ ิ กเ็ ปน็ ผหู้ นงึ่ ทใี่ ชเ้ วลาหลายปใี นการยนื่ โครงการภาพยนตรเ์ พอื่ ขอทนุ
จากคา่ ยภาพยนตรต์ า่ งๆ แตส่ ดุ ทา้ ยกไ็ มป่ ระสบความสำ� เรจ็ ในการขอทนุ ทำ� ใหผ้ กู้ ำ� กบั ตอ้ งตดั สนิ เดนิ หนา้
ท�ำโพรเจ็กต์ภาพยนตร์โดยการขายทรัพย์สินส่วนตัวเพื่อให้ได้ทุนมาสร้างภาพยนตร์เรื่องดังกล่าว ก่อนที่
จะได้การสนับสนุนจากสปอนเซอร์และนายทุนในข้ันท�ำ post-production ในภายหลัง ซ่ึงอุเทนได้ให้
สมั ภาษณก์ ับส่ือมวลชนดงั น้ี
“ที่ผ่านมาก็เข้ากรุงเทพฯ ไปเสนอหนังเรื่องน้ีกับค่ายใหญ่ๆ หมดแล้ว แต่ว่าไม่มีใครสนใจ
เพราะเราไม่มีเครดิตไม่มีรางวัลต่างๆ นานาเหมือนเป็นใครไม่รู้เข้าไปหาเขา ผมก็ไม่ได้รู้สึกน้อยใจ
อะไรนะมันก็เป็นปกติของคนท่ีจะเป็นผู้ก�ำกับในยุคนี้” (ASTV ผู้จัดการออนไลน์, 2557)