Page 41 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 41
การพัฒนาโครงการสร้างภาพยนตร์นอกกระแส 12-29
co-produce กับผู้สรา้ งทอ้ งถนิ่ ของประเทศผู้จดั เทศกาล หรือภาพยนตร์จะตอ้ งมธี มี แบบเอเชยี เท่านั้นจงึ
จะไดร้ บั การสนบั สนนุ เปน็ ตน้ โพรเจก็ ตท์ ไี่ ดร้ บั การคดั เลอื กจะไดร้ บั ทนุ ตามเพดานทเ่ี จา้ ของทนุ กำ� หนดไว้
Co-Production Market คอื การรว่ มทนุ จดั ขน้ึ โดยเทศกาลภาพยนตรเ์ พอ่ื เปน็ พนื้ ทใ่ี นการเจรจา
ธุรกิจที่เจ้าของโพรเจ็กต์ จะได้มีโอกาสน�ำเสนอผลงานเพ่ือหาผู้ลงทุนร่วม (co-production partners)
แบบตัวต่อตัว (one-on-one meeting) โดยมีวิธีการท�ำงานคือ ในแต่ละปีเทศกาลจะคัดเลือกโพรเจ็กต์
ภาพยนตร์ผ่านการน�ำเสนอแพ็กเกจ เพ่ือคัดเลือกโพรเจ็กต์ที่เหมาะสมกับแนวทางของเทศกาลประมาณ
30-35 โครงการตอ่ ปี ซงึ่ เจา้ ของโพรเจก็ ตจ์ ะมโี อกาสในการ “ขายงาน” หรอื นำ� เสนอโครงการ (pitching)
โดยตรงกับแหล่งเงินทุนจากทั่วโลก อาทิ นักลงทุน (investor) ผู้จัดจ�ำหน่าย (distributor) บริษัท
ภาพยนตร์ (production company) ตัวแทนขาย (sale agent) สถานีโทรทัศน์ และโปรดิวเซอร์จาก
นานาชาติท่ที างเทศกาลเชิญมาเข้ารว่ ม
ในส่วนถัดไปนี้จะขอกล่าวถึงเทศกาลภาพยนตร์หลักๆ ในต่างประเทศทั้งยุโรปและเอเชียท่ีมีการ
จัดตัง้ กองทุน (Funding) และกจิ กรรมการร่วมลงทุน (co-production) เพ่ือส่งเสริมการสรา้ งภาพยนตร์
ได้แก่ International Film Festival Rotterdam (IFFR), Berlin International Film Festival
(Berlinale) และBusan International Film Festival (BIFF) เพอ่ื ใหผ้ ู้ศกึ ษาเกดิ ความเข้าใจทชี่ ดั เจน
ยง่ิ ขึน้ เก่ียวกบั ทนุ ตา่ งๆ ท่มี อบให้ในแต่ละเทศกาล จงึ ขอสรปุ รายละเอียดต่างๆ ไวใ้ นตารางท่ี 12.1 ดังตอ่
ไปนี้
ตารางที่ 12.1 รายชื่อและประเภทของกองทุน (Funding) และช่ือ Co-Production Market ของแต่ละเทศกาล
International Film Film Funding Co-Production Market
Festival Rotterdam Hubert Bals Fund Cinemart
(IFFR) Script And Project Development
Berlin International Post-production Funding Berlinale Co-
Film Festival (Berli- World Cinema Fund Production Market
nale) Production Funding Asian Project Market
Busan International Distribution Funding
Film Festival (BIFF) Asian Cinema Fund
Script Development Fund
Post-production Fund
Asian Network of Documentary (AND)
Fund