Page 44 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 44

12-32 การบริหารงานภาพยนตร์
โพรเจก็ ต์ที่มกี ารรว่ มมอื กันระหว่าง German partner หรือ co-producer ที่เปน็ ชาวเยอรมันกบั ผู้สรา้ ง
ทม่ี าจากภมู ภิ าคทไ่ี ดก้ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ รวมไปถงึ การพจิ ารณาภาพยนตรบ์ นั เทงิ และสารคดขี นาดยาวทแ่ี สดง
ให้เห็นถึงการถ่ายทอดสุนทรียศาสตร์ท้ังด้านการเล่าเรื่องและด้านภาพท่ีแปลกใหม่และไม่เป็นไปตาม
แบบแผนทว่ั ไป ทุนจาก WCF แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

            - 	Production Funding สนบั สนนุ ทนุ จำ� นวนสงู สดุ 80,000 ยโู รตอ่ โพรเจก็ ต ์  แตต่ อ้ งเปน็
ภาพยนตรท์ ่ตี อ้ งใชท้ ุนในการผลติ ระหว่าง 200,000 -1,00,000 ยโู ร

            - 	Distribution Funding มอบทนุ ให้ไม่เกนิ 10,000 ยโู รต่อโพรเจก็ ต ์  และภาพยนตร์ที่
ได้รบั การสนบั สนุนจะตอ้ งจัดฉายในโรงภาพยนตรใ์ นประเทศเยอรมนดี ้วย

       Berlinale Co-Production Market คือเวทีในการพบปะของโปรดิวเซอร์เจ้าของโพรเจ็กต์
ภาพยนตร์กับผู้ลงทนุ รว่ มจากนานาชาติ (international co-producers) กว่า 500 คน/บริษทั ซงึ่ ทุกๆ
ปจี ะมโี ครงการทไี่ ดร้ บั การคดั เลอื กใหเ้ ขา้ รว่ มประมาณ 35 โครงการ โดยมรี ปู แบบการเจรจาแบบตวั ตอ่ ตวั
ทสี่ ามารถเจาะจงเลือกพบ co-producer ท่ตี อ้ งการจะพบเปน็ การส่วนตวั ได้

       ข้อมูลเพิ่มเติม เว็บไซตเ์ ทศกาลภาพยนตรน์ านาชาติเบอรล์ นิ https://www.berlinale.de
       Busan International Film Festival (BIFF)
       เทศกาลภาพยนตรน์ านาชาตปิ ซู านในอดตี รจู้ กั กนั ในชอ่ื PIFF หรอื Pusan International Film
Festival แตใ่ นปจั จบุ นั ไดเ้ ปลย่ี นจากคำ� วา่ Pusan มาเปน็ Busan แทน BIFF จดั ขน้ึ เปน็ ประจำ� ทกุ ปชี ว่ ง
เดอื นตลุ าคมตง้ั แตป่ ี 1996 ทเี่ มอื งปซู าน ประเทศเกาหลใี ต้ เปน็ เทศกาลภาพยนตรท์ ยี่ ง่ิ ใหญท่ ส่ี ดุ ในภมู ภิ าค
เอเชีย และอาจจะเป็นหน่ึงในเทศกาลท่ีส�ำคัญของโลกเลยทีเดียว BIFF มีจุดมุ่งหมายส�ำคัญท่ีเป็น
เอกลักษณ์คือ การเป็นเวทีเผยแพร่และแสดงวัฒนธรรม ภาพยนตร์ และผู้ก�ำกับมือใหม่ (ซ่ึงเทศกาล
ภาพยนตรอ์ ืน่ ๆ มักให้ความส�ำคญั กบั ผู้กำ� กบั ท่ีมีประสบการณ์) ทม่ี าจากประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี อีกทั้ง
ยงั เปน็ ผกู้ อ่ ตง้ั กองทนุ Asian Cinema Fund และ Asian Project Market พนื้ ทใ่ี นการทำ�  co-production
ในระดับนานาชาติ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49