Page 30 - การเขียนภาษาอังกฤษ 2
P. 30
14-18 การเขียนภาษาอังกฤษ 2
Lastly, the claim that the patient’s Lastly, the claim that the patient’s family will suffer from
family will suffer from their sickness their sickness is not a reasonable excuse.
is not a reasonable excuse.
In conclusion, euthanasia should
be legally forbidden as it is
unethical; it denies any pos-
sible miracles for recovery; and it In conclusion, euthanasia should be legally forbidden as it is
sends the wrong message that the
family and friends are suffering. unethical; it denies any possible miracles for recovery; and
it sends the wrong message that the family and friends are
suffering.
3. เอกภาพและการเช่ือมโยงความคิดในเรียงความ ตามที่ได้กล่าวข้างต้นแล้วว่า การรักษาเอกภาพและการ
เชื่อมโยงความคิดในเรียงความมีสองระดับ คือ การรักษาเอกภาพและเชื่อมโยงความคิดในภาพรวมของ
เรียงค วาม และก ารร ักษาเอกภาพแ ละก ารเชื่อมโยงค วามค ิดภ ายในย ่อหน้าซ ึ่งป ระกอบข ึ้นเป็นเรียงค วาม ในท ีน่ ี้
จะเน้นไปท ีก่ ารเชือ่ มโยงค วามค ิดในร ะดับเรยี งค วาม เนือ่ งจากก ารร กั ษาเอกภาพแ ละเชื่อมโยงค วามค ิดในร ะดับ
ย่อหน้าได้ก ล่าวถึงในร ายละเอียดแล้วในโมดูลท ี่ 3 และการรักษาเอกภาพในร ะดับเรียงค วามก ็ม ีล ักษณะค ล้าย
กับร ะดับย ่อหน้าค ือท ุกย ่อหน้าควรอ ธิบายขยายค วามใจความห ลักเดียวกัน จึงไม่ขออ ภิปรายในร ายละเอียด
การเชื่อมโยงความค ิดในภ าพรวมของเรียงความมี 2 วิธี คือ การใช้ตัวเชื่อมเพื่อแสดงลำ�ดับหรือก าร
นำ�เสนอความค ิดร ะหว่างย ่อหน้า และการใช้ค ำ�หรือวลีที่เชื่อมโยงค วามค ิดไปย ังย่อหน้าอ ื่น ๆ
3.1 การใช้ตัวเช่ือมเพ่ือแสดงลำ�ดับหรือการนำ�เสนอความคิดระหว่างย่อหน้า เป็นการจัดลำ�ดับการ
นำ�เสนอค วามค ิดให้ชัดเจน ซึ่งตัวเชื่อมท ี่ใช้อาจข ึ้นก ับป ระเภทข องก ารเขียนเรียงค วามได้ เช่น การเขียนเรียง
ความเล่าเหตุการณ์ จะเน้นที่การใช้ต ัวเชื่อมท ี่บ อกลำ�ดับเวลา เช่น ‘f irst’, ‘next’, ‘later’, ‘f inally’ การเขียน
พรรณนาให้รายละเอียดข องบุคคลหรือส ัตว์จะเน้นที่ตัวเชื่อมท ี่แ สดงข้อมูลเพิ่มเติม เช่น moreover หรือ ‘in
addition’ การเขียนพรรณนาสถานท ี่จะเน้นที่ก ารใช้บ ุพบทวลี เช่น ‘in front of’, ‘on the left/right of’, ‘at
the back of’, ‘in the middle of’ ในข ณะท ีเ่รียงค วามเชิงอ ธิบายค วาม (expository essay) หรือก ารเขียนเพื่อ
แสดงค วามค ิดเห็นจะเน้นต ัวเชื่อมท ี่แ สดงป ระเด็นต ่าง ๆ เช่น ‘f irst’, ‘another’, ‘last but not least’ เป็นต้น
(ดูต ัวอย่างข องคำ�เชื่อมเพิ่มเติมได้ในโมดูลที่ 3)
3.2 การใช้คำ�หรือวลีที่อ้างถึงส่ิงเดียวกันหรืออ้างถึงสิ่งที่อยู่ในหัวข้อ (Theme) เดียวกัน วิธีการนี้
สามารถใช้ในการเชื่อมโยงความคิดในย่อหน้าหรือระหว่างย่อหน้าก็ได้และอาจใช้ได้กับเรียงความได้หลาย
ประเภท โดยผ ูเ้ขยี นใชค้ ำ�หรอื ว ลที ีอ่ ้างถ งึ ห รอื เชือ่ มโยงไปย ังค น สัตว์ สิ่งของ สถานท หี่ รือค วามค ดิ ต ่าง ๆ ทีก่ ล่าว
ถึงในย ่อหน้าอ ื่น ๆ ส่วนใหญ่จ ะอ ้างถ ึงส ิ่งท ี่ก ล่าวไปแ ล้วในย ่อหน้าก ่อน เช่น การใช้ค ำ�ซํ้า (students in an open
university; … the students or such students) การใช้ค ำ�ที่บอกห มวดหมู่ห รือประเภทข องส ิ่งที่กล่าวถ ึง