Page 17 - วัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 17
เซร าม ิกแ ละแก้ว 7-7
เรอ่ื งท่ี 7.1.1
องค์ประกอบข องเซราม กิ
คำ�ว่า เซรามิก (Ceramic) มาจากคำ�ในภาษาฝรั่งเศสว่า “Ceramique” ซึ่งมีรากศัพท์จากภาษากรีกว่า
“Keramos” ที่ม ีค วามห มายว่า “potter’s clay” เซร าม ิกเป็นการน ำ�เอาด ินไปขึ้นรูปแ ละทำ�การเผาได้เป็นผลิตภัณฑ์
ต่างๆ ต่อมามีการนำ�วัตถุดิบที่ไม่ใช่ดิน เช่น วัตถุดิบประเภทซิลิกา (silica) อะลูมินา (alumina) ไปขึ้นรูปและเผา
ได้เป็นเซรามิกเช่นกัน จึงมีการให้ความหมายของเซรามิกว่า เป็นวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำ�วัตถุดิบประเภท
สาร อนิน ทรีย์ห รือแร่อ โลหะมาขึ้นรูปแ ละเผาที่อุณหภูมิส ูง
องค์ป ระกอบข องเซรามิกมาจากว ัตถุดิบท ี่ใช้ ซึ่งสามารถจำ�แนกว ัตถุดิบอ อกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มวัตถุดิบที่มี
ความเหนียว และก ลุ่มวัตถุดิบที่ไม่มีค วามเหนียว เซรามิกบางป ระเภทใช้ว ัตถุดิบเพียงช นิดเดียว เซราม ิกบางประเภท
มีอ งค์ประกอบของว ัตถุดิบห ลายช นิดด้วยกัน
1. วัตถดุ ิบทม่ี ีความเหนยี ว
วัตถุดิบป ระเภทนี้ได้แก่ ดินช นิดต่างๆ เช่น ดินขาว ดินเหนียว ดังนี้
1.1 ดินขาว (kaolin หรอื china clay) ได้จ ากก ารผุก ร่อนข องห ินอัคนี และเกิดเป็นดินทับถมอ ยู่ตรงแหล่ง
เดิม โดยทั่วไปดินขาวมีส ีขาว มีความละเอียด ความเหนียวน้อย และความทนไฟสูง เมื่อเผาแล้วเป็นสีขาว มีความ
แข็งแกร่งด ี ดินขาวจึงเหมาะกับการนำ�ไปใช้ในการท ำ�ผลิตภัณฑ์ที่ต ้องการค วามข าว ในป ระเทศไทยพบแหล่งดินขาว
ที่จังหวัดลำ�ปาง ระนอง ปราจีนบุรี และได้น ำ�มาใช้ก ันม าก เนื่องจากเป็นดินขาวท ี่มีค ุณภาพด ี
1.2 ดินเหนียว (ball clay) เกิดจากกระแสนํ้า ลมพัดพาดินจากแหล่งเดิมที่เกิดจากการผุกร่อนของหินไป
สะสมในบ รเิ วณท ีร่ าบล ุม่ การเคลื่อนย ้ายอ อกจ ากแ หลง่ เดมิ น ั้น ทำ�ใหแ้ ยกเอาส ่วนท ีเ่ปน็ ห นิ อ อกไป ทำ�ใหเ้ม็ดด นิ ม คี วาม
ละเอียดขึ้น มีสารอินทรีย์เจือปน มีค วามเหนียวด ี ดินเหนียวม ีสีหล ายสี เช่น สีเหลือง นํ้าเงิน ดำ� แต่เมื่อเผาแ ล้ว จะม ี
สีข าวห รือส ีค รีม มีความแ ข็งแรงเมื่อแ ห้งห รือผ่านก ารเผาที่อุณหภูมิสูง แหล่งดินเหนียวในป ระเทศไทย เช่น ที่ตำ�บล
พุลพลี จังหวัดสุราษฎร์ธานี อำ�เภอแ ม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต้น
2. วัตถุดบิ ท ไ่ี ม่มีความเหนียว
วัตถุดิบป ระเภทน ี้ ได้แก่ หิน แร่ ชนิดต่างๆ และส าร อื่นๆ ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างว ัตถุดิบท ี่น ิยมใช้ก ันม าก
ดังนี้
2.1 หินฟ ันมา้ (feldspar) เกิดจากก ารส ลายตัวข องห ินแ กรนิต หินฟันม้าทำ�หน้าที่เป็นสารช่วยห ลอมละลาย
โดยห ินฟ ันม้าท ีผ่ สมในเนื้อผ ลิตภัณฑ์ จะช ่วยล ดอ ุณหภูมทิ ีใ่ชใ้นก ารห ลอมส ่วนผ สมใหเ้ป็นเนื้อผ ลิตภัณฑเ์ซร าม ิกห รือ
เรียกว ่าจ ุดส ุกต ัวข องเนื้อผ ลิตภัณฑ์ หินฟ ันม้าท ีผ่ สมในน ํ้ายาเคลือบเซร าม ิก จะช ่วยล ดจ ุดห ลอมละลายของส ารเคลือบ
แหล่งหินฟ ันม้าในป ระเทศไทยมีอยู่ห ลายแ ห่ง เช่น ที่จังหวัดตาก ราชบุรี กาญจนบุรี นครศรีธรรมราช อุทัยธานี
2.2 หินเข้ยี วหนมุ าน หรือห นิ ค วอตซ์ (quartz) หรอื ท รายแ กว้ (silica sand) ลักษณะของห ินชนิดน ี้ม ีความ
แข็งแกร่งม าก มีสีขาวใสจนถึงขาวข ุ่น พบมากท ี่จังหวัดจ ันทบุรี ราชบุรี โดยท รายแก้ว คือ หินเขี้ยวหนุมานที่ถ ูกน ํ้าหรือ
ลมก ัดเซาะจ นส ึกก ร่อนเป็นเม็ดเล็กๆ และไปท ับถมก ันต ามร ิมท ะเล เช่น ที่จ ังหวัดร ะยอง สงขลา ทรายแ ก้วท ี่ม ีค ุณภาพ