Page 44 - วัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 44

7-34 ว​ ัสดุท​ างการ​พิมพ์​และบ​ รรจุภ​ ัณฑ์

3. 	สมบตั ิท​ าง​ไฟฟา้

       สมบตั ท​ิ างไ​ฟฟา้ เปน็ ส​ มบตั ท​ิ สี​่ �ำ คญั ใ​นก​ ารเ​ลอื กเ​ซราม​ ก​ิ มาใ​ชใ​้ หเ​้ หมาะส​ ม ในก​ ารน�ำ ​ไปใ​ชง​้ านด​ า้ นอ​ ตุ สาหกรรม​
อิเล็กทรอนิกส์​สมัย​ใหม่ เซ​รา​มิก​ประเภท​กึ่ง​ตัวนำ�​ไฟฟ้า (semiconductor) นำ�​ไป​ใช้​งาน​ด้าน​ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
เช่น การ​ทำ�​ชิ้น​ส่วน​ทราน​ซี​ส​เตอร์ เท​อร์​มิสเตอร์ อุปกรณ์​ตรวจ​สอบ​ควบคุม​ทาง​อิเล็กทรอนิกส์​ต่างๆ ส่วน​เซ​รา​มิก​
ประเภทฉนวน​ไฟฟ้า ก็​มี​ความ​สำ�คัญ​เช่น​กัน ใน​การ​ใช้​งาน​หลาย​ลักษณะ​จำ�เป็น​ต้อง​อาศัย​ผลิตภัณฑ์​ที่​มี​สมบัติ​เป็น​
ฉนวน​ไฟฟ้า​เพื่อ​ความป​ ลอดภัย จึงน​ ิยม​ใช้เ​ซราม​ ิก​ กับ​งานใ​นล​ ักษณะน​ ี้​เช่น​กัน

ตารางท​ ี่ 7.4 ค่า​ความต​ า้ นทาน​ไฟฟา้ ​ของว​ ัสดุต​ ่างๆ ท​ีอ่ ณุ หภูมิห​ อ้ ง

                วสั ดุ                        คา่ ความตา้ นทานไฟฟ้า (โอห์ม)
                                                     1.7 × 10—5
ตัวนำ�                                               10.0 × 10—6
	 ทองแดง                                             5.5 × 10—6
	 เหล็ก
	 ทังสเตน                                                10
กึ่งตัวนำ�                                               0.5
	 ตัวอย่างเซรามิกที่มีสมบัติกึ่งตัวนำ�                  10—2
	 	 ซิลิกอนคาร์ไบด์
	 	 โบรอนคาร์ไบด์                                      >1014
	 	 เฟอรัสออกไซด์                                      >1014
ฉนวน                                                    108
	 ตัวอย่างเซรามิกที่มีสมบัติเป็นฉนวน
	 	 แก้ว
	 	 สเตียไทต์พอร์สเลน
	 	 อิฐดินเผา

       จากต​ าราง​ข้างต​ ้นแ​ สดงใ​ห้​เห็น​ว่า เซราม​ ิก​ บาง​ชนิดม​ ีส​ มบัติ​เป็นท​ ั้งก​ ึ่งต​ ัวนำ�​ไฟฟ้า และ​ฉนวน​ไฟฟ้า ซึ่ง​ขึ้น​กับ​
ชนิด​ของ​เซ​รา​มิก เซรา​มิ​กบาง​ชนิด​สามารถ​ทน​ความ​ดัน​ไฟฟ้า​ได้​สูง จึง​มี​การนำ�​เซรา​มิ​กมา​ทำ�ตัว​เก็บ​ประจุ และ​ใช้​งาน​
กับไ​ ฟฟ้า​แรง​สูงไ​ ด้

กจิ กรรม 7.1.4
       1. 	 สมบัตเ​ิ ชิงกล​ของ​เซ​ราม​ ิก ม​อี ะไรบ​ า้ ง
       2. 	 สมบตั ​ทิ างไ​ฟฟา้ ข​ อง​เซ​รา​มกิ มอ​ี ะไรบ​ ้าง
       3. 	 สมบัต​ทิ างด​ ้าน​ความ​รอ้ น​ของเ​ซ​ราม​ ิก ม​อี ะไรบ​ ้าง
       4. 	 เพราะเ​หตใ​ุ ดใ​นก​ ารเ​คลอื บผ​ วิ ผ​ ลติ ภณั ฑเ​์ ซร​ าม​ กิ จ​ ะต​ อ้ งค​ �ำ นงึ ถ​ งึ ค​ า่ ส​ มั ประสทิ ธก​ิ์ ารข​ ยายต​ วั เ​นอ่ื งจาก​

ความร​ ้อน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49