Page 39 - วัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 39
เซร ามิกและแก้ว 7-29
ปัจจุบันก ารห ล่อแ บบ อาจใช้ค วามด ันเข้าช ่วย (pressure casting) เพื่อล ดเวลาในก ารเทแ บบล งท ำ�ให้
สามารถท ำ�งานได้ร วดเร็วขึ้น นอกจากนี้ย ังม ีข ้อดี คือ การห ดต ัวหลังแ ห้งน ้อยล งด ้วย
การขึ้นรูปโดยการหล่อแบบนี้เป็นที่นิยมกัน เนื่องจากมีข้อดีหลายประการ ได้แก่ สามารถขึ้นรูป
ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปร่างลักษณะโค้งเว้า รูปร่างแปลกๆ ได้ เก็บรายละเอียดต่างๆ ของต้นแบบได้ดี สามารถขึ้นรูป
ผลิตภัณฑ์ที่ม ีหูจ ับ มีปากล ักษณะย ื่นออกมาส ำ�หรับร ิน สามารถผ ลิตได้ปริมาณม ากในแ ต่ละแ บบ และต้นทุนตํ่า
ผลิตภัณฑ์ท ี่ได้จากก ารขึ้นร ูปด้วยการห ล่อแ บบ เช่น เครื่องส ุขภัณฑ์ ถ้วย โถ กานํ้า แจกัน ตุ๊กตา ของ
ชำ�ร่วย เครื่องป ระดับต กแต่งต ่างๆ เป็นต้น ตลอดจ นส ามารถใช้ห ล่อแ บบผ ลิตภัณฑ์ท ี่ไม่มีด ินเป็นส ่วนผ สม แตม่ ีส ่วน
ผสมอื่น เช่น เซอร์โคเนีย อะลูมิน า ซิล ิก อนคาร์ไบด์
2.3 การข น้ึ ร ปู โดยใชแ้ รงอ ดั การข ึ้นร ูปด ้วยว ิธีน ี้ใช้เครื่องม ือท ี่ให้แ รงอ ัด อัดล งบ นผ งว ัตถุดิบ ว ัตถุดิบท ี่น ำ�มา
ใช้อัดมีล ักษณะเป็นผ ง เป็นฝุ่น หรือเนื้อดินปั้นแห้งๆ หรือม ีความชื้นเล็กน้อย อัตราส่วนข องน ํ้าที่ใช้ผสมอ ยู่ระหว่าง
ร้อยล ะ 0 ถึง 15 โลหะท ี่ใช้ทำ�โมลด์ อาจเป็นเหล็กหล่อ เหล็กกล้า หรือท ังสเตนค าร์ไบด์ วิธีนี้เหมาะสำ�หรับก ารข ึ้นรูป
ผลิตภัณฑ์เซรามิก ประเภทกระเบื้อง อิฐ วัตถุทนไฟ และชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โดยมีป ัจจัยสำ�คัญต้องพิจารณาใน
การข ึ้นรูปโดยใช้แ รงอ ัด คือ ขนาด รูปร ่าง และการกระจายต ัวข องอนุภาคส่วนผสม และแรงอ ัดที่ใช้
2.3.1 ขนาด รปู ร า่ ง และก ารกร ะจ าย อน ภุ าคข องส ว่ นผ สม สว่ นผ สมข องเนือ้ ด นิ น ัน้ ประกอบด ว้ ยอ นภุ าค
ทั้งหยาบแ ละล ะเอียด เพื่อทำ�ให้เนื้อผลิตภัณฑ์มีความห นาแ น่นมากท ี่สุด เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ท ี่ได้ม ีก ารห ดตัวน้อย
2.3.2 แรงอัดท่ีใช้ เนื่องจากเครื่องอัดแต่ละชนิด มีแรงอัดแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับ
ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด และคำ�นึงถึงปริมาณความชื้นหรือนํ้าที่มีอยู่ในส่วนผสม ตัวอย่างเช่น การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์
เซร าม ิก ประเภทช ิ้นส่วนอ ิเล็กทรอนิกส์ ที่ม ีค วามชื้นอ ยู่ระหว่างร ้อยละ 0 ถึง 4 จะใช้แรงอัดส ูงก ว่าการผ ลิตก ระเบื้อง
ซึ่งส ่วนผสมมีค วามชื้นอยู่ร ะหว่างร ้อยละ 5 ถึง 6
หลังจากการขึ้นรูปแล้ว ต้องมีการตกแต่งให้เรียบร้อย เช่น การตัดเนื้อดินส่วนเกินออก การลบรอยตะเข็บ
การแต่งขอบปาก หรือก้นผลิตภัณฑ์ การต่อเติมหูของกานํ้าหรือถ้วย และการคัดเลือกผลิตภัณฑ์ท ี่มีคุณภาพดีไปสู่
ขั้นตอนต่อไป ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพไม่ดี ให้ทุบทิ้งแล้วนำ�เนื้อดินปั้นกลับไปใช้ใหม่ได้ แต่ถ้าหากปล่อยให้ของ
เสียผ ่านไปย ังข ั้นต อนก ารเผา และก ารเคลือบ จะท ำ�ใหเ้กิดค วามส ูญเสียม ากข ึ้น และเนื้อด ินไมส่ ามารถก ลับม าใช้ไดอ้ ีก
3. การอ บแ หง้
การอ บแ ห้งก ระทำ�หลังจ ากก ารข ึ้นร ูปแ ล้ว และห ลังจ ากต กแต่งให้ค วามเรียบร้อย เช่น การล บรอยต ะเข็บส ่วน
เกินอ อก หรือการแกะล วดลายล งในผ ลิตภัณฑ์ดิบ จากนั้นน ำ�ไปผ ึ่งให้แห้ง หรือนำ�เข้าเตาอบ เพื่อไล่ความชื้นอ อกไป
ก่อนเข้าสู่ขั้นตอนต่อไป
4. การเผาดิบ
การเผาด ิบเป็นขั้นตอนท ี่ต ่อจากก ารอบแ ห้ง ผลิตภัณฑ์เซรามิก บางป ระเภท หรือผลิตภัณฑ์ด ิบบ างช นิดต้อง
ผ่านข ั้นต อนก ารเผาด ิบก ่อนก ารเคลือบ เนื่องจากก ารเผาด ิบท ำ�ใหผ้ ลิตภัณฑด์ ิบม คี วามแ ข็งแกร่งข ึ้นก ว่าเนื้อผ ลิตภัณฑ์
หรือด ินปั้น ทำ�ให้ลดป ริมาณก ารส ูญเสียลงจากก ารแ ตกและเสียหายเวลาน ำ�ไปเคลือบ การเผาด ิบท ำ�ให้ผ ลิตภัณฑ์ด ิน
ที่ได้มีค วามพ รุนต ัวดี จึงส ามารถด ูดซ ึมน ํ้ายาเคลือบได้ด ีข ึ้น สำ�หรับผ ลิตภัณฑ์ที่ม ีข นาดใหญ่ เช่น เครื่องสุขภัณฑ์ โอ่ง
ราชบุรี ไม่นำ�ไปเผาดิบ แต่นำ�ไปอบให้แห้ง หรือถ้าไม่เข้าอบก็ต้องทิ้งไว้เป็นระยะเวลานานเพื่อให้เนื้อผลิตภัณฑ์แห้ง
สนิทจึงน ำ�ไปเคลือบได้