Page 54 - วัสดุทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 54

7-44 ​วัสดุ​ทางการพ​ ิมพ์แ​ ละ​บรรจุภ​ ัณฑ์

       นอกจาก​นี้ย​ ังน​ ำ�​ไปผ​ ลิตเ​ป็น​แก้วก​ ันก​ ระสุน (bullet proof glass) อีกด​ ้วย โดยใ​ช้ก​ ับร​ ถยนต์​ของบ​ ุคคล​สำ�คัญ
เพื่อค​ วามป​ ลอดภัย​จาก​การ​ถูก​ลอบท​ ำ�ร้าย โดยห​ ลัง​จากน​ ำ�​แก้ว​โซด​ า​ไลม์​มาข​ ึ้นร​ ูปเ​ป็น​แผ่นบ​ างแ​ ล้ว จึง​นำ�​แก้วห​ ลายๆ
แผ่น​มา​ประกบ​กัน​โดย​มี​แผ่น​พลาสติก​ใส่​ตรง​กลาง​ระหว่าง​ชั้น​คล้าย​แซ​นด์วิตช์ และ​ประกบ​เข้า​ด้วย​กัน​จน​กระทั่ง​ได้​
ความห​ นาท​ ี่​ต้องการ แล้ว​นำ�​ไป​ดัด​โค้งต​ าม​รูปล​ ักษณะร​ ถยนต์โ​ดย​ให้ค​ วาม​ร้อน​ทำ�ให้​แก้ว​อ่อน​ตัว แล้ว​ปล่อยใ​ห้เ​ย็นล​ ง​
อยา่ งร​ วดเร็ว ไดแ​้ กว้ ท​ ีม่​ คี​ วามแ​ ขง็ แ​ รงเ​พิม่ ข​ ึน้ กระสุนป​ นื ย​ งิ ผ​ า่ นท​ ะลเุ​ขา้ ไปไ​ดย้​ ากข​ ึน้ ในก​ รณท​ี ีก่​ ระจกถกู ย​ งิ กระสุนป​ นื
​มัก​เกิด​การ​แฉลบ​ไม่​สามารถ​ทะลุ​ผ่าน​กระจก​เข้าไป​โดยตรง​เหมือน​กระจก​ธรรมดา​จึง​ถือว่า​เป็น​วิวัฒนาการ​ที่​ก้าวหน้า​
ของ​ผลิตภัณฑ์แ​ ก้ว

       นอกจากน​ ี้​มีก​ ารนำ�​แก้ว​โซ​ดาไ​ลม์​ไปผ​ ลิตเ​ป็น​ใยแ​ ก้ว (glass fiber) ใยแ​ ก้ว​มี​ความแ​ ข็ง​แรงย​ ิ่ง​กว่าเ​หล็กกล้า ม​ี
ความเ​บาเ​หมือนป​ ุยน​ ุ่น อ่อนน​ ุ่มเ​หมือนข​ นส​ ัตว์ และง​ อไ​ปม​ าไ​ดเ้​หมือนผ​ ้าไ​หม การด​ ึงน​ ั้นส​ ามารถน​ ำ�​แก้วม​ าด​ ึงใ​หไ้​ดเ้​ส้น​
เล็ก​ถึง 1 ใน 300 ของค​ วามห​ นา​ของ​เส้นผม ใยแ​ ก้วไ​ม่​ไหม้ไ​ฟ ทนค​ วาม​ร้อน​ได้ถ​ ึง 1,000 องศา​ฟาเรนไฮต์ ทน​ความชื้น
ไม่​ดูด​ซึม​นํ้า ไม่​ดูด​กลิ่น คง​รูปได้ดี และ​ป้องกัน​การ​เกิด​เสียง​สะท้อนได้ การที่​ใย​แก้ว​ทน​ความ​ร้อน​สูง จึง​นิยม​นำ�​ไป​
ทำ�​ผนัง​กัน​ความ​ร้อน นอกจาก​นี้​ยัง​นำ�​ไป​เป็น​ส่วน​ประกอบ​ใน​การ​ผลิต​พลาสติก​เสริม​แรงทำ�ให้​ได้​วัสดุ​ประสม​ที่​มี​
นํ้า​หนัก​เบา และ​มี​ความ​แข็ง​แรง​สูง​มาก เพื่อ​ใช้​ผลิต​ชิ้น​ส่วน​ของ​เรือ​และ​รถยนต์​ได้ เนื่องจาก​มี​การ​ใช้​งาน​อย่าง​กว้าง​
ขวาง​ตั้งแต่​ผนัง​กัน​ความ​ร้อน​ไป​จนถึง​อุปกรณ์​การ​แพทย์ วัตถุดิบ​ที่​ใช้​จึง​แตก​ต่าง​กัน สำ�หรับ​ผลิต​ผนัง​กัน​ความ​ร้อน​
จะ​ใช้ใ​ยแ​ ก้ว​ที่ผ​ ลิตจ​ ากแ​ ก้วโ​ซด​ า​ไลม์ แต่ใ​น​อุตสาหกรรม​สิ่ง​ทอแ​ ละ​การผ​ ลิต​พลาสติก​เสริมแ​ รงจ​ ะ​ใช้​ใย​แก้วท​ ี่ผ​ ลิตจ​ าก​
แก้ว​ อะลูม​ ิ​โนซ​ ิล​ ิ​เกตท​ ี่​มีโ​ซเดียมอ​ อกไซด์ต​ ํ่า เพื่อใ​ห้ท​ นทานต​ ่อส​ ารเ​คมีไ​ด้ด​ ีย​ ิ่งข​ ึ้น ใยแ​ ก้วไ​ม่ใ​ช้เ​ป็นว​ ัสดุใ​ช้พ​ ิมพ์ และไ​ม​่
ใช้เ​ป็นบ​ รรจุภ​ ัณฑ์

2.	 แกว้ บ​ อโ​รซ​ ​ิล​เิ กต

       แก้ว​บอ​โร​ซิ​ลิ​เกต (borosilicate glass) หรือ​แก้ว​ไพ​เร็กซ์ (pyrex glass) เป็น​แก้ว​ที่​มี​ส่วน​ผสม​ของ​บอ​ริก​
ออกไซด์ (boric oxide) แทน​การใ​ช้​โซเดียม​ออกไซด์แ​ ละ​โพแทสเซียม​ออกไซด์ โดย​ผลิตจ​ ากว​ ัตถุดิบห​ ลัก คือ ทราย​
แก้วและม​ ีบ​ อ​ริก​ออกไซด์ (boric oxide) ผสม​อยู่ แก้ว​ประเภทน​ ี้ม​ ี​ลักษณะเ​ด่น​หลายป​ ระการ ​คือ ทน​ความร​ ้อนส​ ูง มี​
สัมประสิทธิ์ก​ าร​ขยาย​ตัว​ตํ่า ทนทาน​การ​กัดกร่อน​ทาง​เคมี การ​ใช้​งาน​แก้ว​ประเภทน​ ี้ เช่น ขวด​หรือ​หลอด​แก้ว​ที่​ใช้​ใน​
อุตสาหกรรมเ​ภสัชภ​ ัณฑ์ ภาชนะแ​ ก้วท​ ี่เ​ข้าเ​ตาอ​ บธ​ รรมดาแ​ ละต​ ู้อ​ บไ​มโครเวฟ เครื่องแ​ ก้วท​ ี่ใ​นห​ ้องท​ ดลองว​ ิทยาศาสตร์
ซึ่งแ​ ก้ว​เหล่าน​ ี้​ใช้​เป็น​วัสดุใ​ช้​พิมพ์แ​ ละไ​ม่ใ​ช้เ​ป็น​บรรจุภ​ ัณฑ์ นิยมพ​ ิมพ์​สีเ​ดียว โดยพ​ ิมพ์​ตรา​สัญลักษณ์ห​ รือต​ ราสินค​ ้า​
เท่านั้น สำ�หรับเ​ครื่อง​แก้ว​ใช้ใ​นห​ ้อง​ทดลอง​มัก​พิมพ์​สเกลแ​ สดง​ปริมาตรด​ ้วย

       ในป​ ระเทศส​ หรัฐอเมริกา ได้จ​ ัดแ​ บ่งป​ ระเภทข​ อง​แก้ว​ที่ใ​ช้​ใน​อุตสาหกรรมเ​ภสัช​ภัณฑ์ต​ าม​สมบัติ​ของเ​นื้อแ​ ก้ว
ให้​เหมาะส​ มต​ ่อ​การ​ใช้​งานเ​ป็น 4 ประเภท ได้แก่

       แกว้ ป​ ระเภท I (Type I) แก้วบ​ อ​โรซ​ ิล​ ิ​เกต แบ่ง​เป็น 2 ชนิด ได้แก่
       (1)	แก้ว​บอ​โร​ซิ​ลิ​เกต เป็น​แก้วที่​มี​ส่วน​ผสม​ของ​บอ​ริก​ออกไซด์ มีปริมาณ​ของ​เบส​ตํ่า มี​ความ​ทนทาน​ต่อสาร​
เคมี​ดีม​ าก ทน​ความ​ร้อนส​ ูง มี​จุดหลอมเหลว​สูง​ และ​ผลิต​ได้​ยาก ใช้ผ​ ลิตเ​ครื่อง​แก้ว​ชนิดท​ น​ไฟ และ​เครื่อง​แก้วใ​ช้ใ​น​
ห้องท​ ดลองว​ ิทยาศาสตร์ เช่น แก้วไ​พ​เร็กซ์
       (2)	แก้ว​ชนิด​เป็นก​ลาง​หรือ​แก้ว​สะเทิน (neutral glass) เนื่องจาก​แก้ว​บอ​โร​ซิ​ลิ​เกต​เป็น​แก้ว​ที่​หลอม​และ​
ขึ้น​รูป​เป็น​บรรจุ​ภัณฑ์​ได้​ยาก และ​มี​ราคา​แพง จึง​มี​การ​ผลิต​แก้ว​ชนิด​เป็นก​ลาง​ขึ้น โดย​มี​แบเรียม​ออกไซด์​เป็น​ส่วน​
ประกอบ มี​ความท​ นทาน​ทาง​เคมี​ดีม​ าก เนื้อ​แก้วม​ ี​สมบัติ​เป็นกล​ างไ​ม่มีก​ าร​ละลายต​ ัว หรือท​ ำ�​ปฏิกิริยาก​ ับ​กรด และเ​บส
จุดหลอมเหลวต​ ํ่าก​ ว่าแก้วบอโรซิลิเกต ทำ�ให้​ผลิตไ​ด้ไ​ม่​ยาก ใช้​เป็น​ภาชนะส​ ำ�หรับใ​ส่ยา​ฉีด​ขนาดเ​ล็ก เช่น ไว​แอล และ​
แอมพ​ ลู
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59