Page 62 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 62
7-50 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
2. การย ืดต วั
การย ืดต ัว เป็นค ่าที่แ สดงค วามส ามารถก ารย ืดต ัวข องพ อล ิเมอ ร์ท ดสอบเมื่อได้ร ับแ รงด ึงให้ย ืดอ อก โดยป กติ
พิจารณาก ารย ืดตัว ณ จุดข าด (elongation at break) ซึ่งเป็นค ่าที่แสดงค วามส ามารถข องพอล ิเมอร์ที่ได้รับแรงด ึงให้
ยืดอ อกจ นกระทั่งข าด ค่าการยืดตัว ณ จุดขาด มีห น่วยวัดเป็นเปอร์เซ็นต์ห รือร้อยละ เป็นค ่าม ีความส ำ�คัญเพราะเป็น
ตัวบ อกถ ึงค ่าค วามอ ่อนขอ งว ัสดุ ถ้าพ อลิเมอรห์ รือว ัสดทุ ดสอบม คี ่าเปอร์เซ็นตก์ ารย ืดต ัวม าก แสดงว ่าม คี วามอ ่อนม าก
สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่างได้ง่าย เปอร์เซ็นต์การยืดตัวพิจารณาได้จากค่าการเปลี่ยนแปลงความยาวของวัสดุเทียบ
กับความยาวเดิมก่อนการได้รับแรงกระทำ� ซึ่งก็คือ ความเครียดนั่นเอง พอลิเมอร์ที่เป็นพวกอิลาสติกมีเปอร์เซ็นต์
การยืดตัวได้มากประมาณ 500-1,000 และด ีดกลับไปเหมือนเดิม ส่วนพ อล ิเมอ ร์ที่ไม่เป็นอิล าสติก เมื่อได้รับแ รงด ึง
มากกว่าค ่าแรง ณ จุดคราก จะเกิดร อยค อคอด (necking) ทำ�ให้ไม่ส ามารถด ีดก ลับเป็นความยาวเท่ากับค วามย าว
เริ่มต้นได้ ดังภ าพที่ 7.31
% การย ืดต ัว = (Δ/o) × 100
โดยที่ Δ เป็นความยาวของชิ้นว ัสดุทดสอบท ี่เปลี่ยนไปเมื่อได้รับแ รงดึง มีห น่วยม ิลลิเมตร
o เป็นค วามย าวเริ่มต ้นของช ิ้นวัสดุทดสอบก ่อนได้ร ับแ รงก ระทำ� มีหน่วยเป็นม ิลลิเมตร
% การยืดตัว ณ จุดข าด = (Δmax/o ) × 100
โดยที่ Δmax เป็นความย าวข องช ิ้นว ัสดุทดสอบที่เปลี่ยนไปเมื่อได้ร ับแรงดึงสูงสุด มีห น่วยมิลลิเมตร
o เป็นค วามย าวเริ่มต้นข องช ิ้นว ัสดุทดสอบก ่อนได้ร ับแรงกระทำ� มีหน่วยเป็นมิลลิเมตร
รอยค อคอด
ความเค้น
ความเครียด
ภาพท่ี 7.31 ตวั อย่างช้นิ ตัวอยา่ งทดสอบมกี ารเปลีย่ นแปลงโดยก ารย ืดอ อกเมือ่ ไ ดร้ ับแ รงดงึ และร อยคอคอด
ที่มา: ชูศักดิ์ พูนส วัสดิ์ 2554