Page 39 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 39

โครงสร้างและการทำ�งานของหน่วยความจำ� 3-29

เร่ืองท่ี 3.3.1
หนว่ ยความจำ�ส�ำ รองภายในเครอ่ื ง

       หนว่ ยความจ�ำ ส�ำ รองภายในเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ เปน็ แหลง่ เกบ็ ขอ้ มลู ทีอ่ ยูภ่ ายในเครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ ีม่ ขี นาด
ใหญ่สามารถดึงข้อมูลเข้าสู่หน่วยความจำ�หลักได้ทันทีเมื่อต้องการ เมื่อกล่าวถึงหน่วยความจำ�สำ�รองภายในเครื่อง
คอมพิวเตอร์ จะนึกถึงจานแม่เหล็ก (magnetic disk) เป็นอันดับแรก เพราะสามารถจัดเก็บและดึงข้อมูลได้สะดวก
รวดเรว็ โดยไมต่ อ้ งบรรจสุ ือ่ ขอ้ มลู เขา้ เครือ่ งเนือ่ งจากอยูใ่ นเครือ่ งคอมพวิ เตอรต์ ลอดเวลา แตก่ ารใชง้ านขอ้ มลู ในจานแม่
เหล็กจะต้องใช้เวลาในการอ่านข้อมูลเข้าสู่หน่วยความจำ�หลักหรือเขียนข้อมูลจากหน่วยความจำ�หลักลงสู่จานแม่เหล็ก

       หน่วยวัดความจุของความจำ�สำ�รอง
       1024 byte = 1 kilobyte (KB) อ่านว่า กิโลไบต์ = 210 byte ประมาณ 103 byte (1 byte = 1 ตัวอักษร)
       1024 kilobyte = 1 megabyte (MB) อ่านว่า เมกะไบต์ = 220 byte ประมาณ 106 byte
       1024 megabyte = 1 gigabyte (GB) อ่านว่า กิกะไบต์ หรือ จิกะไบต์ = 230 byte ประมาณ 109 byte
       1024 gigabyte = 1 terabyte (TB) อ่านว่า เทระไบต์ = 240 byte ประมาณ 1012 byte
       1024 terabyte = 1 petabyte (PB) อ่านว่า เพตะไบต์ = 250 byte ประมาณ 1015 byte
       1024 petabyte = 1 exabyte (EB) อ่านว่า เอกซะไบต์ = 260 byte ประมาณ 1018 byte
       1024 exabyte = 1 zettabyte (ZB) อ่านว่า เซตตะไบต์ = 270 byte ประมาณ 1021 byte
       1024 zettabyte = 1 yottabyte (YB) อ่านว่า ยอตตะไบต์ = 280 byte ประมาณ 1024 byte

1. 	จานแมเ่ หล็ก (magnetic disk)

       จานแม่เหล็กเป็นอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลที่ติดตั้งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์มีโครงสร้างคล้ายกับ
ดิสเก็ตต์ แต่จุข้อมูลมากกว่าและมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่า ส่วนใหญ่ใช้สำ�หรับเก็บตัวโปรแกรมระบบ
ปฏิบัติการ operating system) รวมถึงโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ จานแม่เหล็กผลิตมาจากวัสดุแบบแข็งจำ�นวน
หลายแผ่นวางเรียงต่อกันเป็นชั้น จานแม่เหล็กแต่ละจาน เรียกว่า แพลตเตอร์ (platter) ซึ่งอาจจะมีจำ�นวนต่างกันได้
ในจานแม่เหล็กแต่ละรุ่น
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44