Page 49 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 49
การจัดเวลาซ ีพียูและการต ิดตาย 11-39
1.3 ส่วนเส้นทางเชื่อม หรือสายการส่งผ่านข้อมูล (transmission line) อาจเป็นบัสที่ใช้สายทองแดง
โคแอ็กเชียล หรือไฟเบอร์ออปติก ขึ้นกับระยะทางในการส่ง ความเร็ว ความเชื่อถือได้และงบประมาณที่ใช้
ในการด ำ�เนินก าร แทนด ้วยเส้นตรงที่แสดงทิศทาง ดังแ สดงในภาพท ี่ 11.14 (c)
PE Switch
(a) ส่วนก ารประมวลผล (b) ส่วนสวิตช์ (c) ส่วนเส้นทางเชื่อม
ภาพท่ี 11.14 องค์ประกอบพ ้ืนฐานในก ารส รา้ งระบบม ัลตโิ พรเซสเซอร์
2. รปู แบบการต ่อโพรเซสเซอรเ์ ป็นมัลตโิ พรเซสเซอร์
รปู แ บบก ารต อ่ (topology) โพรเซสเซอรเ์ พือ่ ใหเ้ ปน็ ม ลั ตโิ พรเซสเซอรน์ ัน้ น ยิ มจ �ำ แนกเปน็ ร ปู แบบต า่ ง ๆ จ�ำ นวน
4 รูปแบบด้วยก ัน คือ รูปแบบบ ัสร่วม (common bus) รูปแบบหน่วยความจ ำ�ท ี่มีหลายพอร์ต (multiport memory)
รปู แบบก ารเชือ่ มต อ่ ผ า่ นอ นิ พตุ /เอาตพ์ ตุ (connect through I/O) และรปู แบบบ สั ว นิ โดว์ (bus window) ดงั ร ายล ะเอยี ด
ต่อไปน ี้
2.1 รูปแบบบัสร่วม ลักษณะการต่อแบบที่ใช้บัสหรือเส้นทางร่วมนี้จะเป็นรูปแบบดั้งเดิมที่นิยมใช้
ในการต่อโพรเซสเซอร์หลาย ๆ ตัวเข้าด้วยกัน นิยมและใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ที่เป็นส่วนบุคคลหรือพีซีและ
มินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งใช้อินพุต/เอาต์พุตและหน่วยความจำ�หลักร่วมกันได้ ระบบจะมีประสิทธิภาพสูง เมื่อใช้จำ�นวน
โพรเซสเซอร์ที่เหมาะสมกับแบนด์วิธของบัสของระบบ แต่ถ้าหากบัสบกพร่องโพรเซสเซอร์ทั้งหมดจะติดต่อกันไม่ได้
ส่งผลทำ�ให้ความน ่าเชื่อถือต ํ่า ดังแสดงในภ าพที่ 11.15
อินพุต/เอาต์พุต หน่วยค วามจ ำ�ร ่วม
บัสร่วม
โพรเซสเซอร์ตัวที่ 1 โพรเซสเซอร์ต ัวที่ n
ภาพที่ 11.15 การต ่อโพรเซสเซอร์รูปแบบบสั ร ่วม