Page 53 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 53
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 15-43
ไปมา (portability) และการร องรับการป ระมวลผลห ลายงานแบบแบ่งส ัดส่วน (symmetrical multiprocessing) ที่
เป็นการกระจายงานออกไปย ังโพรเซสเซอร์ท ั้งหลายให้ช่วยกันท ำ�การประมวลผลอย่างได้สมดุล
ระบบห ลายภ ารกจิ แ บบพ รมี ท ฟี (preemptive multitasking) หรอื ก ารท �ำ งานแ บบห ลายง านไมผ่ กู ขาดห นว่ ย
ประมวลผ ลกล าง หมายถ งึ การอ นุญาตใหม้ กี ารท ำ�งานค วบคูก่ นั ไปท ัง้ ง านเบื้องห น้าแ ละง านเบือ้ งห ลงั ไมร่ ะบเุจาะจงให้
ทำ�งานใดง านห นึง่ โดยเฉพาะ กล่าวค อื โปรแกรมจ ะจ ับจองข อท �ำ งานเพียงผ ูเ้ดยี วไมไ่ด้ หากม โีปรแกรมอ ื่นข อข ัดจงั หวะ
จะต ้องป ล่อยให้โปรแกรมน ั้นแ ทรกขึ้นม าท ำ�งานได้ด ้วย หรือระบบปฏิบัติการจ ะค วบคุมก ารท ำ�งานของห น่วยป ระมวล
ผลกล างโดยตรง การท ำ�งานของแ ต่ละโปรแกรมจะแบ่งเวลาก ารทำ�งานให้แ ต่ละโปรแกรมตามความเหมาะสม
ส่วนความสามารถในการประมวลผลแบบหลายเธรด (multithread processes) หมายถึง การกร ะจาย การ
ทำ�งานห รือก ารประมวลผลออกเป็นหลายเส้นทาง แล้วด ำ�เนินการค วบคู่กันไปให้เสร็จส ิ้นในก ระบวนการเดียว
วินโดวส์เอ็นท ี ใช้ร ะบบไฟล์แ บบเอ็นท ีเอฟเอส (New Technology File System: NTFS) ซึ่งเป็นร ะบบไฟล์
ที่ร องรับก ารต ั้งช ื่อไฟล์ได้ย าวถ ึง 256 อักขระ และม ีค วามส ามารถในก ารต ิดตามก ารท ำ�งาน ซึ่งห มายความว ่า เมื่อร ะบบ
ทำ�งานผ ิดพลาด วินโดวส์เอ็นท ีสามารถค ืนค่าเดิมในส ภาวะก ่อนท ำ�งานผ ิดพลาดก ลับล งไปได้ โดยก ารเชื่อมโยงข ้อมูล
ของวินโดวส์เอ็นที สนับสนุนตามข้อกำ�หนดระดับชั้นการเชื่อมโยงข้อมูลของมาตรฐานไอทริปเปิ้ลอี ((Institute of
Electrical and Electronics Engineers: IEEE) 802.2 สำ�หรับร ะบบเครือข่ายทั้งแบบโทเคนริงและอ ีเธอร์เน็ต รวม
ทั้งข ้อก ำ�หนดโพรโตคอลเอส ดีแอลซ ี (Synchronous Data Link Control: SDLC) โพรโตคอลเอกซ์ดอททเวนต ี้ไฟฟ์
คิวด ับเบิ้ลแ อลซี (X.25/QLLC) และดีเอฟท ี (distributed function terminal: DFT)
เป้าห มายห ลักในก ารอ อกแบบ คือ การร องรับห ลายส ถาปัตยกรรม โดยซ อฟต์แวรไ์มต่ ้องเขียนข ึ้นใหมส่ ำ�หรับ
แต่ละหน่วยป ระมวลผ ล ทำ�ให้ระบบปฏิบัติก ารวินโดวส์เอ็นท ีมีร ุ่นสำ�หรับสถาปัตยกรรมห น่วยป ระมวลผ ลต ่าง ๆ เช่น
อินเทล ไอเอเทิรตี้ท ู (IA-32) อัลฟา และเพาเวอร์พ ีซี โดยค วามเข้าก ันได้ข องซ อฟต์แวร์นั้นเป็นไปได้ด้วยก ารร องรับ
หลายร ูปแบบเอพีไอ (API) ด้วยก ัน ในเรื่องความปลอดภัยส ำ�หรับหลายผู้ใช้ วินโดวส์เอ็นทีรองรับเอซีแอล (Access
Control Lists: ACL) โดยสามารถกำ�หนดสิทธิการอนุญาตได้หลากหลายสำ�หรับแต่ละอ็อบเจ็ค ไม่ว่าจะเป็นไฟล์
ฟังก์ชันผู้ใช้ หรือกลุ่มผู้ใช้ เป็นต้น นอกจากนี้ วินโดวส์เอ็นทียังรองรับโพรโทคอลวินโดวส์เน็ตเวิร์ก รวมถึงยูนิกต์
และท ีซีพี/ไอพี (TCP/IP) อีกด ้วย
ภายในว ินโดวส์เอ็นท ี ยังม ีค วามส ามารถในก ารท ำ�ระบบเครือข ่ายแ บบเท่าเทียมให้ด ้วย กล่าวค ือ ผู้ใชว้ ินโดวส์
เอ็นที สามารถแบ่งป ันร่วมใช้ท รัพยากรอื่นกับผู้ใช้อื่นท ี่ใช้วินโดวส์เอ็นท ี วินโดวส์ และดอส ได้ด้วย
นอกจากนี้ วินโดวส์เอ็นที ยังมีส่วนบริการการทำ�เซิร์ฟเวอร์การเข้าใช้ในระยะไกลที่เรียกว่า รีโมทแอคเซส
เซิร์ฟเวอร์ (Remote Access Server) มาให้ด้วย ซึ่งเซิร์ฟเวอร์ดังกล่าวจะมีความสามารถในการให้ไคลเอ็นต์ระยะ
ไกลที่อยู่บนดอส วินโดวส์ หรือวินโดวส์เอ็นที สามารถหมุนโทรศัพท์เข้าติดต่อกับระบบเครือข่ายวินโดวส์เอ็นที
และทำ�การล งบ ันทึกเข้า (log in) ใช้งานร ะบบเครือข่ายได้เสมือนห นึ่งเชื่อมต่อก ับร ะบบเครือข่ายโดยตรง เซิร์ฟเวอร์
ดังกล่าวสามารถร องรับก ารเชื่อมต ่อได้ม ากถึง 64 การเชื่อมต ่อ และมีก ารรักษาความป ลอดภัยตามพื้นฐ านการร ักษา
ความปลอดภัยของวินโดวส์เอ็นทีเอง ซึ่งรวมถึงการใส่รหัสผ่านที่มีการเข้ารหัสข้อมูลตามมาตรฐานดีอีเอส (Data
Encryption Standard: DES) และค วามสามารถในการเรียกกลับ (call - back) เพื่อป ้องกันบุคคลไม่พ ึงประสงค์
แอบแฝงเข้ามา โดยในการติดต่อสื่อสารระยะไกลนี้ วินโดวส์เอ็นทีรองรับทั้งการใช้โพรโตคอลเอกซ์ดอททเวนตี้ไฟฟ์
(X.25) และไอเอส ดีเอ็น (Integrated Service Digital Network: ISDN)
ในค วามเป็นจ ริง ประสิทธิภาพท ี่ส ูงข ึ้นข องว ินโดวสเ์อ็นท ี เป็นผ ลม าจ ากค วามต ้องการท รัพยากรข องว ินโดวส์
เอ็นทีเองที่ระบุว่า ต้องเป็นเครื่องที่ใช้หน่วยประมวลผลกลาง 80486 DX ของอินเทลขึ้นไป และต้องมีหน่วยความ
จำ�แรมอย่างตํ่า 12 เมกะไบต์และมีพื้นที่ว่างในการติดตั้งบนฮาร์ดดิสก์อีก 100 เมกะไบต์ นอกเหนือจากเครื่อง