Page 55 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 55

ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 15-45

ระบบป​ ฏิบัตกิ​ ารใ​ชโ้​หมดเ​คอร์เนล (kernel) โพรเ​ซสข​ องผ​ ูใ้​ชเ้​ป็นโ​หมดย​ ูสเซอรท์​ ีไ่​ดร้​ ับก​ ารป​ ้องกันอ​ ย่างส​ มบูรณ์ แต่ละ
โพร​เซส​จะม​ ี​เธรด​เท่าใดก​ ็ได้

       ด้านเ​น็ตเวิร์ค วินโดวส์ 2000 ได้เ​พิ่มก​ ารส​ นับสนุนด​ ้านเ​น็ตเวิร์กใ​หด้​ ขี​ ึ้น สนับสนุนด​ ไี​วซ์พ​ ลั๊กแ​ อนเ์​พลย์ ระบบ​
ไฟล์​แบบ​ใหม่ท​ ี่ส​ นับส​ นุนไฮ​ราค​ ี​คอล​สตอเรจ (hierarchical storage) และร​ ะบบไ​ฟล์​แบบก​ ระจาย

       วินโดวส์ 2000 มีท​ ั้งหมด 4 รุ่น คือ วินโดวส์ 2000 โพรเฟซชั่นเนล วินโดวส์ 2000 เซิร์ฟเวอร์ วินโดวส์ 2000
แอดวานซ์​เซิร์ฟเวอร์ และ​วินโดวส์ 2000 ดาต้า​เซนเตอร์​เซิร์ฟเวอร์

       ในป​ ี 2544 ไมโครซ​ อฟทไ​์ ดอ​้ อกว​ นิ โดวส์ 2000 แอดวานซเ​์ ซริ ฟ์ เวอร์ รุน่ ล​ ม​ิ ติ เ​ตด็ (Windows 2000 Advanced
Server Limited Edition) และ วินโดวส์ 2000 ดาต้าเ​ซนเตอร์​เซิร์ฟเวอร์ รุ่นล​ ิม​ ิต​เต็ด (Windows 2000 Datacenter
Server Limited Edition) เพื่อม​ า​รันบ​ นซีพียูอ​ ินเ​ทลอิท​ าเ​นียม (CPU Intel Itanium) ซึ่งเ​ป็น​ซีพียูแ​ บบ 64 บิต โดย​
บริษัท​ไมโครซ​ อฟท์​คาด​หวัง​ให้ วินโดวส์ 2000 เป็น​วินโดวส์ท​ ี่​มีค​ วามป​ ลอดภัยแ​ ละ​มีเ​สถียรภาพม​ าก​ที่สุด

       เปา้ ​หมาย​หลักใ​น​การ​ออกแบบว​ ินโดวส์ 2000 มีด​ ังนี้
            1) 	ความส​ ามารถใ​นก​ ารข​ ยายร​ ะบบ เปน็ ค​ วามส​ ามารถข​ องร​ ะบบป​ ฏบิ ตั ก​ิ ารเ​พือ่ ก​ า้ วใ​หท​้ นั ก​ บั เ​ทคโนโลย​ี

ด้านค​ อมพิวเตอรท์​ ีก่​ ำ�ลังเ​ปลี่ยนไ​ป ทำ�ใหม้​ กี​ ารอ​ อกแบบว​ ินโดวส์ 2000 โดยใ​ชส้​ ถาปัตยกรรมเ​ลเยอร์ เพื่อใ​ห้การท​ ำ�งาน
(execute) อยู่ท​ ี่​เคอร์เนล หรือโ​พร​เทคโ​หมด (protect mode) ซึ่ง​เป็น​พื้น​ฐานข​ อง​ระบบเ​ซอร์วิส ส่วน​ระบบย​ ่อยจ​ ะ​
ทำ�​งาน​ในยูส​เซอร์โ​หมด (user mode) รอบ ๆ จะ​เป็น​ระบบ​ย่อย​ของส​ ภาวะ​แวดล้อม (environmental subsystem)
ซึ่ง​จำ�ลองเ​ป็น​ระบบ​ปฏิบัติ​การ​ที่​ต่าง​กัน โดย​โปรแกรมท​ ี่​เขียนส​ ำ�หรับ​เอ็ม​เอ​สดอส ไมโครซ​ อฟท์ วินโดวส์ และ​โพ​สิก
(POSIX) สามารถ​รัน​กับ​วินโดวส์ 2000 ใน​สภาพแ​ วดล้อมท​ ี่​เหมาะส​ ม​ได้

            2) 	ความส​ ามารถ​ในก​ ารเ​คลื่อนย​ ้าย​ได้ เพื่อ​ให้ร​ ะบบ​ปฏิบัติก​ าร​สามารถเ​คลื่อนย​ ้าย​จาก​สถาปัตยกรรม​
ฮาร์ดแวร์​หนึ่ง​ไปอ​ ีก​สถาปัตยกรรมห​ นึ่ง​ที่ม​ ีก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง​เล็กน​ ้อยไ​ด้ เช่น​เดียว​กับร​ ะบบ​ปฏิบัติก​ าร​ยูนิกซ์ (UNIX)
ที่​ระบบส​ ่วนใ​หญ่​เขียนโ​ดย​ภาษา​ซี (C) และ​ซีพ​ ลัสพ​ ลัส (C++) ซึ่ง​มี​การเ​ก็บโ​ค้ดไ​ว้​ใน​ไดนามิก​ลิงก์ไ​ลบรารี (Dynamic
Link Library: DLL) ซึ่ง​เป็นไ​ฟล์​ที่​เก็บ​ข้อ​มูลเ​พื่อแ​ ม็พ​ กับแ​ อ็คเ​ด​รสข​ องโ​พรเซส

            3) 	ความเ​ชือ่ ถ​ อื ไ​ด้ เปน็ ค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารแ​ กไ้ ขป​ ญั หาข​ อ้ ผ​ ดิ พ​ ลาดท​ เี​่ กดิ ข​ ึน้ รวมท​ ัง้ ก​ ารป​ อ้ งกนั ต​ วั เ​อง​
และ​ผู้​ใช้​จากซ​ อฟต์แวร์​ที่​ประสงค์​ร้าย ซึ่ง​วินโดวส์ 2000 จะ​ต่อต​ ้านก​ ารร​ ุกรานโ​ดย​ใช้ก​ ารป​ ้องกัน​ทาง​ฮาร์ดแวร์​สำ�หรับ​
หน่วย​ความ​จำ�​เสมือน และ​กลไก​การ​ป้องกัน​ของ​ซอฟต์แวร์​สำ�หรับ​รีซอร์ส​ของ​ระบบ​ปฏิบัติ​การ นอกจาก​นี้ วินโดวส์
2000 ยัง​ใช้​ระบบไ​ฟล์แ​ บบ​เอ็นท​ ีเ​อฟ​เอส (New Technology File System: NTFS) ที่ทำ�การ​กู้​คืนอ​ ัตโนมัติ​จากข​ ้อ​
ผิด​พลาด​ที่​เกิด​จาก​ระบบ​ล่ม โดย​วินโดวส์ 2000 ได้​รับ​ระดับ C2 ใน​การ​แบ่ง​ชั้น​ความ​ปลอดภัย​กระทรวง​กลาโหม​
สหรัฐอเมริกา ซึ่งเ​ป็น​ระดับ​กลางใ​นก​ าร​ป้องกันก​ าร​รุกราน​ทางซ​ อฟต์แวร์

            4) 	ความเ​ขา้ ก​ นั ไ​ด้ (compatible) วนิ โดวส์ 2000 มค​ี วามส​ ามารถเ​ขา้ ก​ นั ไ​ดก​้ บั แ​ อพพลเิ คชนั่ ท​ ไ​ี่ ดม​้ าตรฐาน​
ไอท​ ริปเปิ้ลอ​ ี 1003.1 (IEEE 1003.1: POSIX) ผู้​ใช้​สามารถ​คอมไ​พล์​และ​รัน​แอพพลิเคชัน​บนว​ ินโดวส์ 2000 ได้โ​ดย​
ไม่​ต้อง​เปลี่ยน​ซอร์สโค้ด ยิ่งก​ ว่าน​ ั้น ยังส​ ามารถร​ ันโ​ปรแกรมท​ ี่ค​ อมไ​พล์​สำ�หรับส​ ถาปัตยกรรม x86 ที่ร​ ันเ​อ็ม​เอส​ ดอส
วินโดวส์ 16 บิต และวินโดวส์ 32 บิต

            5) 	ความ​มี​ประสิทธิภาพ ซึ่ง​วินโดวส์ 2000 ได้​รับ​การ​ออกแบบ​ให้​มี​ประสิทธิภาพ​สูง ทำ�ให้​สามารถ​
สื่อสารก​ ับร​ ะบบอ​ ื่นไ​ด้อ​ ย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพ คือ ทำ�ให้ก​ ารส​ ่งแ​ มสเ​สจ​ มีป​ ระสิทธิภาพส​ ูง ซึ่งเ​ธรดใ​นร​ ะบบว​ ินโดวส์ 2000
มีป​ ระสิทธิภาพส​ ูง ทำ�ให้ร​ ะบบส​ ามารถ​โต้ตอบก​ ับร​ ะบบภ​ ายนอก​ได้
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60