Page 10 - กฎหมายอาญา 1: ภาคบทบัญญัติทั่วไป
P. 10

10                                                            10. 	ข้อใดที่เป็นความแตกต่างระหว่างกฏหมายแพ่งกับ
                                                                 กฎหมายอาญา
8. 	 เหตุผลที่รัฐแทรกแซงเข้าไปลงโทษบุคคลคืออะไร                  ก. 	 กฎหมายอาญามุ่งทีจ่ ะรักษาความสัมพนั ธร์ ะหว่าง
   ก. 	 เพื่อป้องกันสังคมและตอบแทนผู้กระทำ�ความผิด                   เอกชนด้วยกัน ส่วนกฎหมายแพ่งมุ่งที่จะรักษา
   ข. 	 เพื่อตอบแก่ผู้กระทำ�ความผิด                                  ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
   ค. 	 เพื่อแก้แค้นแทนสังคม                                     ข. 	 สภาพบังคับในกฎหมายแพ่งเป็นการชดใช้ค่า
   ง. 	 เพื่อยับยั้งมิให้บุคคลอื่นกระทำ�ความผิด                      เสียหาย ส่วนกฎหมายอาญาเป็นการลงโทษ
   จ. 	 ถูกทุกข้อ                                                ค. 	 กฎหมายแพ่งว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างเอกชน
                                                                     กับรัฐ ส่วนกฎหมายอาญาว่าด้วยความสัมพันธ์
9. 	 การกระทำ�ในข้อใดที่เป็นเฉพาะความผิดทางแพ่ง                      ระหว่างรัฐต่อรัฐ
   ก. 	 ขับรถชนคนตายโดยประมาท                                    ง. 	 กฎหมายแพ่งต้องตีความโดยเคร่งครัด ส่วน
   ข. 	 ขับรถชนรถยนต์ผู้อื่นเสียหายทั้งคัน                           กฎหมายอาญาตีความโดยเทียบบทใกล้เคียงได้
   ค. 	 ประทับปืนจะยิงผู้อื่นแล้วเปลี่ยนใจไม่ยิง                 จ. 	 ถูกทุกข้อ
   ง. 	 ยงิ ผูอ้ ืน่ แตพ่ ลาดกระสนุ ไปถกู กระจกหนา้ ตา่ งแตก
   จ. 	 ขับรถโดยประมาท เฉียดจะชนตำ�รวจ

เฉลยแบบประเมินผลตนเองหน่วยท่ี 1

กอ่ นเรียน                                                    หลังเรยี น
  1. ค.                                                         1. ง.
  2. ข.                                                         2. ง.
  3. ค.                                                         3. ค.
  4. จ.                                                         4. ก.
  5. ข.                                                         5. ค.
  6. ก.                                                         6. ค.
  7. ก.                                                         7. ง.
  8. ง.                                                         8. ก.
  9. ง.                                                         9. ข.
 10. ง.                                                        10. ข.
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15