Page 63 - กฎหมายอาญา 1: ภาคบทบัญญัติทั่วไป
P. 63
63
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 14
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย”
คำ�แนะนำ� ขอให้นักศึกษาอ่านคำ�ถามแล้วเขียนวงกลมล้อมรอบข้อคำ�ตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. โทษสำ�หรับลงแก่ผู้กระทำ�ความผิดในทางอาญามี 5. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโทษกักขัง
ทั้งหมดกี่ประการ ก. เป็นโทษที่เกี่ยวกับเสรีภาพของผู้กระทำ�ความผิด
ก. 5 ประการ เช่นเดียวกับโทษจำ�คุก
ข. 4 ประการ ข. ผู้ต้องโทษกักขังจะต้องถูกกักขังในเรือนจำ�เท่านั้น
ค. 3 ประการ ค. ผู้ต้องโทษกักขังจะมีสิทธิต่าง ๆ มากกว่าผู้ต้อง
ง. 2 ประการ โทษจำ�คุก
จ. 1 ประการ ง. โทษกักขังเป็นมาตรการเพื่อกันผู้กระทำ�ความผิด
เล็กน้อยออกจากผู้กระทำ�ความผิดร้ายแรง
2. ข้อใดคือวิธีการลงโทษประหารชีวิตตามประมวล จ. เพื่อหลีกเลี่ยงโทษจำ�คุกระยะสั้นสำ�หรับผู้กระทำ�
กฎหมายอาญา ความผิดเล็กน้อย
ก. ใช้อาวุธปืนยิงให้ตาย
ข. การฉีดสารพิษให้ตาย 6. โทษในทางอาญาที่ได้กำ�หนดไว้โดยชัดแจ้งอาจมีการ
ค. การใช้ไฟฟ้าให้ตาย เปลี่ยนแปลงโทษได้ด้วยวิธีการใด
ง. การแขวนคอ ก. การะงับโทษ
จ. ไม่มีการลงโทษประหารในประเทศไทยแล้ว ข. การสิ้นสุดโทษ
ค. การรอการลงโทษ
3. หน่วยงานใดเป็นผู้ดำ�เนินการประหารชีวิตนักโทษ ง. การเพิ่มโทษและการลดโทษ
ซึ่งถูกศาลตัดสินลงโทษถึงที่สุดให้ประหารชีวิต จ. ถูกทุกข้อ
ก. กรมคุมประพฤติ
ข. กระทรวงมหาดไทย 7. หากผู้กระทำ�ความผิดตายย่อมทำ�ให้การลงโทษแก่
ค. กรมราชทัณฑ์ ผู้นั้นมีผลอย่างไร
ง. กระทรวงกลาโหม ก. การระงับโทษ
จ. สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ ข. การสิ้นสุดโทษ
ค. การรอการลงโทษ
4. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการคำ�นวณระยะเวลาจำ�คุก ง. การเพิ่มโทษและการลดโทษ
ตามประมวลกฎหมายอาญา จ. ถูกทุกข้อ
ก. กรณีกำ�หนดโทษจำ�คุกเป็นปี ให้คำ�นวณตาม
ปีปฏิทินในราชการคือ 360 วัน 8. ข้อใดไม่ใช่วิธีการเพื่อความปลอดภัย
ข. กรณีกำ�หนดโทษจำ�คุกเป็นเดือน ให้ถือเอา 30 วัน ก. ห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง
เป็น 1 เดือนเสมอกันทุกเดือน ข. ห้ามเข้าเขตกำ�หนด
ค. การค�ำ นวณนบั ระยะเวลาจ�ำ คกุ ให้นับวันเริ่มจ�ำ คกุ ค. การเรียกประกันทัณฑ์บน
รวมคำ�นวณเข้าด้วยกันและให้นับเป็นหนึ่งวันเต็ม ง. การกักกัน
โดยไม่ต้องคำ�นึงถึงจำ�นวนชั่วโมง จ. การกักขัง
ง. เมือ่ ผูต้ อ้ งค�ำ พพิ ากษาถกู จ�ำ คกุ ครบก�ำ หนดแลว้ ให้
ปล่อยตัวในวันที่ถัดจากวันที่ครบกำ�หนด
จ. ถูกทุกข้อ