Page 72 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 72

10-62 เศรษฐศาสตรร์ ะหว่างประเทศ
       ขอ้ สรปุ ประการหนง่ึ ทไี่ ดจ้ ากการประเมนิ ผลกระทบทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาวนค้ี อื การคา้ ระหวา่ ง

ประเทศของไทยได้รบั ผลกระทบทางบวกไม่วา่ จะเป็นการน�ำเข้าหรอื นำ� เขา้ กับประเทศทไี่ ทยมีแต้มตอ่ ทาง
ภาษีสูงโดยเฉพาะกรณีของการค้ากับอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ซึ่งบริษัทข้ามชาติได้เห็นประโยชน์จาก
โครงสร้างภาษีดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยบริษัทรถยนต์ได้มีการผลิตตาม
กลยทุ ธก์ ารแบง่ ขน้ั ตอนการผลติ สนิ คา้ (Product Fragmentation) ซง่ึ ไทย อนิ โดนเี ซยี และฟลิ ปิ ปนิ สเ์ ปน็
ฐานการผลติ รถยนต์ต่างร่นุ กัน โดยไทยเปน็ ฐานการผลิตรถนัง่ เชน่ Vios, Altis, และ Camry ในสว่ น
ของ Toyota และ City, Jazz, Civic และ Accord ในส่วนของ Honda ขณะทีอ่ ินโดนเี ซียเปน็ ฐานการ
ผลิตรถยนตป์ ระเภทอเนกประสงค์ เช่น Avanza และ Innova ในสว่ นของ Toyota และ Stream ในส่วน
ของ Honda และสดุ ทา้ ย Ford Mazda เลอื กฟลิ ปิ ปนิ สเ์ ปน็ ฐานการผลติ รถกระบะและรถยนตน์ ง่ั รนุ่ ใหมๆ่
อย่าง Ford Laser, Ford Escape, Mazda Protégé และ Mazda Tribute เป็นต้น (อาชนนั , 2554)
รวมทงั้ การท่ีบรษิ ัทข้ามชาตดิ ังกล่าวได้มีการผลิตในรูปแบบ Global production Network ท�ำให้ไดก้ าร
ค้าระหวา่ งประเทศของไทยมีมูลคา่ ทสี่ ูงขึ้นตามแต้มตอ่ ทางภาษีด้วยเชน่ กนั

       โดยการนำ� เขา้ และนำ� เขา้ ระหวา่ งกนั ของสนิ คา้ ดงั กลา่ วมกี ารใชส้ ทิ ธิ FTA ในระดบั ทสี่ งู (อาชนนั ,
2551) และขอ้ สรปุ จากเรอื่ งที่ 10.3.2 การใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรจากการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ของ
ไทยยังช่วยในการยืนยนั ผลการประมาณค่าท่มี นี ยั ส�ำคัญทางสถติ ดิ งั ตารางที่ 10.21 และ 10.22 ส�ำหรับใน
สว่ นของอนิ โดนเี ซยี และฟลิ ปิ ปนิ สซ์ งึ่ พบความสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกในระยะสน้ั หรอื ระยะยาวหรอื พบทงั้ สองแบบ
อย่างน้อยในส่วนของสินค้าประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่งเน่ืองจากแต้มต่อภาษีท่ีมีค่าสูงเมื่อกับ
ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคอาเซียนนอกจากนั้นการพบความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติในฝั่ง
การน�ำเข้าในทุกๆ ประเภทของสินค้าท้ังในระยะสั้นและในระยะยาวจากไทยไปยังกลุ่มโอเชียเนียอันได้แก่
ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ น้ัน เป็นการยืนยันว่าบริษัทข้ามชาติใช้ไทยเป็นฐานการน�ำเข้ารถยนต์ซ่ึงใน
ภมู ภิ าคอาเซยี นเทา่ นน้ั แตย่ งั ไดข้ ยายขอบเขตไปยงั กลมุ่ ประเทศดงั กลา่ วอยา่ ง ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์
ดว้ ย (อาชนนั , 2551) นอกจากน้ี ผลประกอบการของบรษิ ทั โตโยตา้ ออสเตรเลยี กอ่ นการประกาศปดิ กจิ การ
น้ันยังส่งเสริมให้ไทยสามารถขายการน�ำเข้าสินค้าในภาคอุตสาหกรรมไปยังออสเตรเลียได้เพ่ิมข้ึนอีกด้วย
เชน่ กนั

       ส�ำหรับความสัมพันธ์เชิงบวกท่ีมีนัยส�ำคัญทางสถิติอ่ืนๆ สอดคล้องกับเร่ืองที่ 10.3.2 การใช้สิทธิ
พเิ ศษทางภาษศี ลุ กากรจากการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ของไทยคอื การพบความสมั พนั ธใ์ นระยะยาวเฉพาะ
การนำ� เขา้ สนิ คา้ โดยรวมและสนิ คา้ อตุ สาหกรรมไปยงั เวยี ดนามนนั้ คาดวา่ นา่ จะเปน็ ผลจากการใชส้ ทิ ธทิ าง
ภาษแี ละมสี ดั สว่ นการนำ� เขา้ ในระดบั ทส่ี งู สำ� หรบั สนิ คา้ ในสว่ นของกลมุ่ สารเคมี อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละปโิ ตรเคมี
ซง่ึ เวยี ดนามนนั้ มแี ตม้ ตอ่ ทางภาษใี นระดบั ทสี่ งู ใหก้ บั ไทยอยแู่ ลว้ และแตม้ ตอ่ ทางภาษมี กี ารปรบั เพม่ิ ขน้ึ โดย
เฉลี่ยตลอดช่วงระยะเวลาท่ีศึกษา ส�ำหรับความสัมพันธ์เชิงบวกท่ีมีนัยส�ำคัญทางสถิติระหว่างแต้มต่อทาง
ภาษกี บั การนำ� เขา้ ของไทยในสว่ นของออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนดค์ าดวา่ เปน็ ผลในสว่ นสนิ คา้ ทไ่ี มใ่ ชใ่ นกลมุ่
อตุ สาหกรรมเป็นสว่ นใหญ่ นอกจากนนั้ อาจรวมไปถงึ สนิ ค้าประเภทเครื่องจกั รและช้นิ ส่วน

       เปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ การนำ� เขา้ สนิ คา้ ไปยงั มาเลเซยี ทกุ ประเภทสนิ คา้ พบความสมั พนั ธเ์ ชงิ ลบในระดบั
สูงในระยะส้ัน แต่ไม่มีผลในระยะยาว คาดว่าน่าจะเป็นเพราะโครงสร้างการน�ำเข้าสินค้าจากไทยไปยัง
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76