Page 69 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 69
การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 10-59
ส�ำหรับประเทศท่ีถูกน�ำมาใช้ในการประมาณค่านั้น จะเลือกประเทศที่เป็นคู่ค้าหลักกับไทยโดย
พจิ ารณาจากการมสี ว่ นแบง่ การสง่ ออกและนำ� เขา้ มากกวา่ รอ้ ยละ 0.5 ใน พ.ศ. 2555 โดยในฝง่ั การสง่ ออก
และน�ำเข้ามีจ�ำนวนประเทศทัง้ ส้นิ 28 และ 27 ประเทศตามล�ำดับ3
ส่ิงที่เราสนใจจากการใช้สมการแรงดึงดูดคือการศึกษาว่าแต้มต่อทางภาษีศุลกากรซ่ึงค�ำนวณจาก
ผลต่างระหว่างอัตราภาษีศุลกากร MFN และอัตราภาษีศุลกากรภายใต้ความตกลงการค้าเสรีจะมีผลต่อ
นยั สำ� คญั ทางสถติ กิ บั มลู คา่ การคา้ หรอื ไม่ โดยแตม้ ตอ่ ทางภาษศี ลุ กากรทใี่ ชใ้ นสมการแรงดงึ ดดู จะถกู คำ� นวณ
โดยการถว่ งน้ําหนักจากมูลค่าการคา้ ทีร่ ะดบั รหสั ฮาโมไนเซช่นั (harmonization code) 6 หลัก
จากตารางท่ี 10.20 และ 10.21 พบวา่ ในภาพรวมผลกระทบจากความตกลงทางการคา้ เสรผี า่ นแตม้
ต่อทางภาษีนั้นสามารถส่งผลกระทบต่อมูลค่าการค้าระหว่างประเทศในเชิงบวกทั้งในระยะสั้นและ
ในระยะยาว อาจไมส่ ง่ ผลกระทบ และสง่ ผลกระทบทางลบไดเ้ ชน่ กนั ทำ� ใหใ้ นการศกึ ษานนั้ ตอ้ งแยกพจิ ารณา
ไปในแต่ละประเทศโดยจะเริ่มจากการสง่ ออกดงั ตารางท่ี 10.21 โดยพบว่าในฝั่งการส่งออกนั้น ความตกลง
การคา้ เสรที ีท่ �ำกบั ประเทศออสเตรเลียฟิลิปปนิ ส์และอินโดนเี ซีย ทำ� ใหแ้ ต้มต่อภาษมี ผี ลกระทบทางบวกใน
ทกุ กลมุ่ สนิ คา้ ทง้ั ในระยะสนั้ และระยะยาวยกเวน้ ในดา้ นการสง่ ออกสนิ คา้ เครอ่ื งจกั รในระยะสนั้ ไปยงั ประเทศ
ฟิลิปปินส์ท่ีไม่มีนัยส�ำคัญทางสถิติแต่มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระยะยาว ในส่วนประเทศนิวซีแลนด์น้ันมี
ความสมั พนั ธเ์ ชงิ บวกกบั ทกุ ๆ การคา้ ในระยะสนั้ เทา่ นนั้ สำ� หรบั ประเทศเวยี ดนามสนิ คา้ สง่ ออกโดยรวมและ
สนิ คา้ อุตสาหกรรมไดร้ ับผลกระทบทางบวกในระยะยาว
ตารางท่ี 10.20 ผลกระทบระยะสั้นและระยะยาวของตัวแปรแต้มต่อทางภาษีของคู่ค้ากับมูลค่าการส่งออก
ส่งออก
ประเทศ ความสัมพันธ์ระยะสั้น ความสัมพันธ์ระยะยาว
อินโดนเี ซีย สินค้า อตุ สาหกรรม เครื่องจักรและ สินค้า อุตสาหกรรม เคร่ืองจักรและ
มาเลเซยี ท้ังหมด อุปกรณ์ขนส่ง ท้ังหมด อุปกรณ์ขนส่ง
ฟิลปิ ปนิ ส์
เวยี ดนาม ++ + ++ +
-- -
+- ++ +
++
3 ประเทศท่ถี ูกน�ำมาใชใ้ นการประมาณคา่ ในสมการสง่ ออก ไดแ้ ก่ ออสเตรเลยี เบลเยยี ม บราซลิ กมั พูชา แคนาดา จีน
ฝรั่งเศส เยอรมนี ฮ่องกง อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ลาว มาเลเซีย เม็กซิโก เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์
ซาอดุ อิ าระเบีย อินเดยี และสิงคโปร์ สว่ นประเทศทถี่ ูกน�ำมาใช้ในการประมาณค่าในสมการน�ำเข้า ไดแ้ ก่ อาเซอรไ์ บจัน ออสเตรเลีย
บราซิล จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี ฮ่องกง อินโดนีเซีย อิตาลี ญ่ีปุ่น เกาหลีใต้ ลาว มาเลเซีย โอมาน นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ รัสเซีย
ซาอดุ อี าระเบยี อินเดยี สงิ คโปร์ เวยี ดนามและแอฟรกิ าใต้