Page 66 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 66

10-56 เศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศ
กบั บรษิ ทั ตา่ งชาติ ในสว่ นตวั อยา่ งของบรษิ ทั อาหารแปรรปู ของไทยทมี่ ขี นาดใหญไ่ ดแ้ ก่ บรษิ ทั ไทยยเู นย่ี น
โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ผลิตปลาทูน่าบรรจุกระป๋องที่ใหญ่ที่สุดในโลก บริษัทขนาด
ใหญ่เหล่านี้มีความได้เปรียบในการขอใบรับรองแหล่งก�ำเนิดสินค้า (C/O) มากกว่าบริษัทขนาดเล็ก
เน่ืองจากการขอ C/O เป็นส่วนหนึ่งในต้นทุนคงที่ของบริษัท ดังน้ันถ้าบริษัทเหล่านี้ยิ่งส่งออกสินค้ามาก
ขน้ึ กจ็ ะยงิ่ ทำ� ใหต้ น้ ทนุ ตอ่ หนว่ ยในการขอ C/O ลดลงมากขนึ้ และจากการศกึ ษาของ Kohpaiboon (2010)
พบวา่ บรษิ ัทขนาดใหญม่ กั จะขอ C/O มากกวา่ บริษทั ขนาดเลก็

       ประการที่สอง สนิ คา้ ในกล่มุ อตุ สาหกรรมดงั กลา่ วมกี ารใช้วตั ถดุ บิ ภายในประเทศ (Local Con-
tent: LC) อยู่ในระดับสูง โดยจากงานวจิ ัยของ Kohpaiboon and Jongwanich (2013) และ Athukorala
and Kohpaiboon (2012) ชีใ้ ห้เหน็ วา่ รถยนตส์ �ำเร็จรูปทีป่ ระกอบในประเทศไทยนน้ั สว่ นใหญใ่ ชช้ ิน้ สว่ นท่ี
ผลิตภายในประเทศ โดยในบางรุ่นพบว่ามีการใช้ชิ้นส่วนท่ีผลิตภายในประเทศทั้งหมด ส�ำหรับเครื่องใช้
ไฟฟ้าภายในบ้านน้ันมีสัดส่วนมูลค่าการใช้วัตถุดิบภายในประเทศแตกต่างกันไปในเคร่ืองใช้ไฟฟ้าแต่ละ
ประเภท ส�ำหรับเครื่องปรบั อากาศและเคร่ืองซักผา้ มกี ารใช้ชิน้ ส่วนภายในประเทศในระดับสูง โดยเฉพาะ
อยา่ งยงิ่ ชน้ิ สว่ นสำ� คัญอยา่ งคอมเพรซเซอร์ในเครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ส�ำหรบั อุตสาหกรรมปโิ ตรเคมีนนั้
ใชว้ ตั ถดุ บิ ภายในประเทศเปน็ หลกั เชน่ กนั โดยมาจากกา๊ ซธรรมชาตใิ นอา่ วไทย ในขณะทอี่ ตุ สาหกรรมอาหาร
อยา่ งก้งุ แปรรูปมสี ัดสว่ นการใช้วัตถุดิบภายในประเทศท่สี ูงเชน่ กนั (Kohpaiboon, 2006) ดังน้ัน ถ้าสินค้า
ใดมกี ารใชว้ ตั ถดุ บิ ภายในประเทศอยใู่ นระดบั สงู จะทำ� ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามกฎวา่ ดว้ ยแหลง่ กำ� เนดิ สนิ คา้ ไดโ้ ดยงา่ ย

       ประการที่สาม สนิ ค้าในอุตสาหกรรมดงั กลา่ วส่วนใหญม่ ีแตม้ ตอ่ ทางภาษที ่สี งู (แต้มตอ่ ทางภาษี
ในที่น้ี คือ ส่วนตา่ งระหว่างอตั ราภาษีปกติ (MFN Rate) และอัตราภาษพี ิเศษภายใตก้ รอบเขตการคา้ เสรี
ตา่ งๆ (FTA Rate) ) ทำ� ใหค้ มุ้ คา่ ตอ่ ตน้ ทนุ ในการขอใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากร สง่ ผลใหผ้ ปู้ ระกอบการ
ในอุตสาหกรรมดังกล่าวมีแรงจูงใจต่อการใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรมากกว่าอุตสาหกรรมอ่ืนๆ ที่มี
แต้มตอ่ ทางภาษีท่ีต่าํ ซ่ึงอาจไม่คุ้มคา่ ในการขอใชส้ ทิ ธิ

       ส�ำหรับทางฝั่งน�ำเข้านั้นพบว่ารายการสินค้าที่ใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรมีระดับของการ
กระจุกตัวอยู่ในระดับสูงส�ำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียน แต่ในประเทศนอกกลุ่มอาเซียนบางประเทศยังคง
มีระดับการกระจุกตัวที่ตํ่า ส�ำหรับสินค้าท่ีใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร 15 อันดับแรกในส่วนการน�ำเข้า
จากประเทศในกลมุ่ อาเซียน พบวา่ มีการกระจกุ ตวั อยู่ที่รอ้ ยละ 38.9 โดยกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเดมิ
มกี ารกระจกุ ตวั อยทู่ รี่ อ้ ยละ 41.8 ในขณะทก่ี ลมุ่ ประเทศสมาชกิ อาเซยี นใหมม่ กี ารกระจกุ ตวั อยทู่ รี่ อ้ ยละ 55.1
แตเ่ มอื่ พจิ ารณาเปน็ รายประเทศพบวา่ การใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรนำ� เขา้ จากมาเลเซยี และเวยี ดนาม
อยใู่ นระดบั ตาํ่ กวา่ โดยเปรยี บเทยี บกบั ประเทศสมาชกิ อาเซยี นอนื่ ๆ โดยระดบั ของการกระจกุ ตวั ในรายการ
สนิ คา้ 15 อนั ดบั แรกอยทู่ ่ี 40.0 และ 42.1 ตามล�ำดบั ในขณะที่ประเทศสมาชกิ อาเซยี นท่ีเหลือมีระดบั การ
กระจกุ ตัวเกินกวา่ ร้อยละ 50 ทง้ั ส้ิน

       รายการสินค้าท่ีน�ำเข้าจากประเทศในกลุ่มอาเซียนมีความหลากหลาย โดยถ่านหินเป็นสินค้าที่ใช้
สทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรนำ� เขา้ จากประเทศอนิ โดนเี ซยี สงู สดุ ทรี่ อ้ ยละ 22.4 ของมลู คา่ สนิ คา้ นำ� เขา้ ทสี่ ทิ ธิ
พิเศษทางภาษีศุลกากรท้ังหมดในปี 2555 ส่วนรายการสินค้าอ่ืนๆ ประกอบไปด้วย รถยนต์ส�ำเร็จรูป
ชน้ิ สว่ นรถยนต์ และรถขดุ ดนิ เปน็ ตน้ สว่ นสนิ คา้ ทใ่ี ชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรนำ� เขา้ จากมาเลเซยี มคี วาม
หลากหลายมากกว่าน�ำเข้าจากอินโดนเี ซยี โดยประกอบไปดว้ ย สนิ ค้าอิเล็กทรอนกิ ส์ ผลติ ภณั ฑ์ปโิ ตรเคมี
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71