Page 64 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 64
10-54 เศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศ
ตารางท่ี 10.19 ของการกระจกุ ตวั ในสนิ คา้ สง่ ออกและนำ� เขา้ ทใ่ี ชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากร 15 อนั ดบั แรก พ.ศ. 2555
(ร้อยละ)
ประเทศ ส่งออก น�ำเข้า
ประเทศในกลุ่มอาเซียน 32.0 38.9
ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 39.2 41.8
บรูไน 69.1 100.0
อินโดนีเซยี 46.5 62.5
มาเลเซยี 35.4 40.0
ฟิลปิ ปนิ ส์ 50.2 74.3
สิงคโปร์ 58.0 75.8
ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ 27.6 55.1
กมั พชู า 80.4 53.6
ลาว 75.0 100.0
เมียนมา 84.6 100.0
เวยี ดนาม 29.1 42.1
ประเทศนอกกลุ่มอาเซียน
ออสเตรเลยี 57.5 75.1
นิวซแี ลนด์ 56.7 86.1
จีน 60.8 11.5
อนิ เดีย 52.1 71.0
ญปี่ ุน่ 57.4 41.8
เกาหลใี ต้ 47.4 82.5
ท่ีมา: Kohpaiboon and Jongwanich. (2014).
ในด้านการส่งออกนั้นพบว่ารายการสินค้าท่ีใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรมีระดับของการกระจุก
ตัวอยู่ในระดับสูง ส�ำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียนพบว่าสินค้าส่งออกท่ีใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร 15
อันดับแรกจาก 5,000 กว่ารายการสนิ คา้ มีระดบั ของกระจกุ ตวั ทร่ี ้อยละ 32 และเมือ่ แยกเปน็ กลุม่ ประเทศ
สมาชกิ อาเซยี นเดมิ และใหมพ่ บวา่ กลมุ่ ประเทศอาเซยี นเดมิ มรี ะดบั ของการกระจกุ ตวั อยทู่ ร่ี อ้ ยละ 39.2 ใน
ขณะท่กี ลมุ่ สมาชิกอาเซียนใหม่มรี ะดบั การกระจุกตวั อยู่ที่รอ้ ยละ 27.6
แตเ่ มอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายประเทศพบวา่ ระดบั ของการกระจกุ ตวั ในรายการสนิ คา้ 15 อนั ดบั แรกมคี า่
สูงกว่าเมื่อพิจารณาเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนท้ังหมด ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าประเภทของรายการสินค้าท่ีใช้
สิทธิพเิ ศษทางภาษศี ุลกากรทสี่ ง่ ออกไปยังประเทศตา่ งๆ ในกลมุ่ อาเซียนน้ัน มคี วามหลากหลายและแตก
ต่างกันไปในแต่ละประเทศ โดยรายการสินค้า 15 อันดับแรกท่ีมีมูลค่าการใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร
สงู สุดซึ่งสง่ ออกไปยงั บรไู น กมั พูชา ลาว และเมียนมา มีระดับของการกระจกุ ตัวของมลู ค่าสินค้ามากกว่า