Page 62 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 62

10-52 เศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศ

ตารางท่ี 10.17 (ต่อ)

	 อนิ เดีย                        2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555
	 ญ่ปี นุ่                        0.04 0.03 0.04 0.04 0.02 0.12 0.32
	 JTEPA                           0.00 0.05 2.12 2.14 3.97 5.06 7.03
	 ASEAN-Japan                     0.00 0.05 2.12 2.13 3.93 5.01 6.92
	 เกาหลใี ต้                      0.00 0.00 0.00 0.01 0.04 0.06 0.11
รวมทั้งสิ้น                       0.00 0.00 0.00 0.00 0.51 1.00 1.50
                                  3.9 4.2 6.4 6.8 12.5 23.6 30.2

ท่ีมา: Kohpaiboon and Jongwanich. (2014).

       การใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษีศลุ กากรของประเทศต่างๆเพอื่ น�ำเขา้ มาประเทศไทยยังคงมอี ตั ราอยใู่ น
ระดบั ท่ตี าํ่ กว่าด้านการสง่ ออก จากตารางท่ี 10.18 พบว่าอัตราการใช้สทิ ธิประโยชน์การนำ� เข้าเฉล่ยี ในช่วง
พ.ศ. 2549–2555 อยทู่ ีร่ ้อยละ 12.2 เทา่ นั้น โดยเพิ่มข้ึนจากรอ้ ยละ 5.2 ใน พ.ศ. 2549 เปน็ รอ้ ยละ 11.5
ใน พ.ศ. 2553 และเพิ่มขึ้นอย่างกา้ วกระโดดมาอยูท่ ีร่ อ้ ยละ 20.8 ใน พ.ศ. 2555 สำ� หรบั อตั ราการใชส้ ทิ ธิ
ประโยชนข์ องประเทศในกลมุ่ อาเซยี น เพอื่ นำ� เขา้ เพม่ิ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 13.0 ใน พ.ศ. 2549 เปน็ รอ้ ยละ 16.4
ใน พ.ศ. 2552 จากนน้ั เพมิ่ ขน้ึ โดยอยใู่ นชว่ งรอ้ ยละ 23.7–26.6 ระหวา่ ง พ.ศ. 2553–2555 โดยการใชส้ ทิ ธิ
พเิ ศษทางภาษศี ลุ กากรระหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซยี่ นเดมิ และใหมน่ น้ั มคี วามแตกตา่ งไมม่ ากนกั เมอ่ื เทยี บ
กับกรณีการใช้สิทธิประโยชน์ด้านการส่งออก ส�ำหรับประเทศสมาชิกอาเซียนท่ีใช้สิทธิประโยชน์มากท่ีสุด
ไดแ้ ก่ อนิ โดนเี ซยี ลาว เวยี ดนาม และฟลิ ปิ ปนิ ส์ ตามลำ� ดบั สำ� หรบั อตั ราการใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากร
ท่ีสูงของอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ได้มาจากเครือข่ายการผลิตของบริษัทข้ามชาติในอตุ สาหกรรมรถยนต์
โดยอนิ โดนเี ซยี เปน็ ฐานการผลติ รถยนตร์ นุ่ ทส่ี ำ� คญั ๆ อยา่ ง ToyotaInnova Toyota Avanza และ Honda
Freed เป็นต้น ส่วนฟิลิปปินส์เป็นฐานการผลิตรถยนต์อย่าง Ford lancer Ford Escape Mazda
Protégé และ Mazda Tribute เปน็ ตน้ โดยรถยนตร์ นุ่ เหลา่ นผ้ี ลติ ในประเทศอนิ โดนเี ซยี และฟลิ ปิ ปนิ สจ์ าก
นั้นจึงถูกส่งออกไปยังประเทศในกลุ่ม AEC โดยใช้สิทธิ AFTA ส�ำหรับอัตราการสิทธิพิเศษทางภาษี
ศุลกากรท่ีสงู ข้ึนถงึ รอ้ ยละ 42.8 ของกัมพชู าใน พ.ศ. 2555 นนั้ มาจากการสินคา้ ประเภทมันสำ� ปะหลงั

       สำ� หรบั ประเทศนอกกลมุ่ อาเซยี นพบวา่ การใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรสำ� หรบั การนำ� เขา้ มายงั
ประเทศไทยมอี ตั ราตาํ่ กวา่ การใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรของประเทศในกลมุ่ อาเซยี นโดยใน พ.ศ. 2555
อตั ราการใชส้ ทิ ธปิ ระโยชนข์ องประเทศนอกกลมุ่ อาเซยี นอยทู่ ร่ี อ้ ยละ 18.6 ในขณะทป่ี ระเทศในกลมุ่ อาเซยี น
อยู่ท่ีร้อยละ 26.6 ส�ำหรับประเทศท่ีมีอัตราการใช้สิทธิประโยชน์สูงสุดคือนิวซีแลนด์โดยค่าเฉลี่ยระหว่าง
พ.ศ. 2549–2555 อยู่ท่ีร้อยละ 42.2 โดยส่วนใหญ่เป็นสินค้าน�ำเข้าประเภทนมและผลิตภัณฑ์จากนม
ในขณะท่ีประเทศนอกกลุ่มอาเซียนอื่นๆ นั้นส่วนใหญ่มีอัตราการใช้สิทธิประโยชน์อยู่ในระดับตํ่ากว่า
รอ้ ยละ 20
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67