Page 59 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 59

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 10-49

ตารางท่ี 10.15 (ต่อ)

                      2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

	 	 AANZ              0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
	 	 จนี               1.5 1.8 1.7 4.0 7.4 9.4 11.3
	 	 อินเดีย           0.3 0.4 0.4 0.4 1.4 2.0 2.1
	 	 ญ่ีป่นุ           0.0 0.6 4.5 4.2 4.8 6.1 6.3
	 	 JTEPA             0.0 0.6 4.5 4.2 4.8 6.0 6.3
	 	 ASEAN-Japan       0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1
	 	 เกาหลใี ต้        0.0 0.0 0.0 0.0 0.9 2.2 2.1
	 รวมท้ังสิ้น         12.8 19.4 31.7 31.1 44.7 51.1 53.2

ท่ีมา: Kohpaiboon and Jongwanich. (2014).

       ตารางท่ี 10.16 เปน็ การแสดงอตั ราการใชส้ ทิ ธปิ ระโยชน์ (preference utilization rate) ทางภาษี
ศลุ กากรของไทยกบั ประเทศตา่ งๆ ที่มขี อ้ ตกลงทางการคา้ ระหว่างกันโดยอัตราการใชส้ ิทธิประโยชนใ์ นทน่ี ี้
ค�ำนวณจากสัดส่วนระหว่างมูลค่าการส่งออกที่ใช้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีศุลกากรกับมูลค่าการส่งออก
ทง้ั หมด (ทง้ั ทใ่ี ชส้ ทิ ธแิ ละไมใ่ ชส้ ทิ ธ)ิ โดยรายการสนิ คา้ ทนี่ ำ� มาคำ� นวณนน้ั จะใชเ้ ฉพาะรายการสนิ คา้ ทก่ี ำ� แพง
ภาษีปกติ (MFN) มีคา่ มากกวา่ ศนู ย์

       อตั ราการใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรของไทยกบั ประเทศตา่ งๆ ดา้ นการสง่ ออกยงั คงอยใู่ นระดบั
ไม่สูงนัก โดยค่าเฉลี่ยระหว่าง พ.ศ. 2549–2555 อยู่ท่ีร้อยละ 36.4 หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงคือไทยใช้สิทธิ
พิเศษทางภาษีศุลกากรเพียงแค่หนึ่งในสามของมูลค่าการส่งออกไปยังประเทศที่มีข้อตกลงเขตการค้าเสรี
แต่อยา่ งไรก็ตามแนวโนม้ การใชส้ ทิ ธิพเิ ศษทางภาษีมีแนวโน้มเพิม่ ขน้ึ โดยอตั ราการใชส้ ิทธพิ ิเศษทางภาษี
ศลุ กากรเพม่ิ ขึ้นจากร้อยละ 19.9 ใน พ.ศ. 2549 เป็นร้อยละ 41.5 ใน พ.ศ. 2555

       นอกจากนั้นอัตราการใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรด้านการส่งออกยังมีความแตกต่างกันไปใน
แตล่ ะประเทศ สำ� หรบั ประเทศในกลมุ่ อาเซยี นนนั้ อนิ โดนเี ซยี เปน็ ประเทศทส่ี ง่ ออกสนิ คา้ โดยมอี ตั ราการใช้
สทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรสงู ทส่ี ดุ อยทู่ รี่ อ้ ยละ 50.9–61.5 ในชว่ ง พ.ศ. 2549–2555 ตามมาดว้ ยฟลิ ปิ ปนิ ส์
และเวยี ดนามซง่ึ มคี า่ เฉลย่ี ของอตั ราการใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทางภาษศี ลุ กากรทร่ี อ้ ยละ 48.6 และ 47.6 ตามลำ� ดบั
แต่อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าประเทศในกลุ่มอาเซียนจะมีอัตราการใช้สิทธิทางด้านการส่งออกของ
ไทยที่สูงเสมอไป เพราะอย่างมาเลเซียซ่ึงเป็นประเทศท่ีมีขนาดเศรษฐกิจท่ีอยู่ในอันดับต้นๆ ของภูมิภาค
ยงั มอี ตั ราการใชส้ ทิ ธเิ ฉลยี่ เพยี งแคร่ อ้ ยละ 25.1 เทา่ นน้ั ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว สว่ นอตั ราการใชส้ ทิ ธพิ เิ ศษทาง
ภาษีศุลกากรไปยังประเทศสิงคโปร์นั้นอยู่ในระดับท่ีตํ่ามาก เป็นเพราะว่าสิงคโปร์เป็นประเทศปลอดภาษี
อยู่แล้ว ส่วนประเทศสมาชิกอาเซียนใหม่ยังคงมีอัตราการใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรที่ตํ่าอยู่เนื่องจาก
กำ� ลังอยู่ในช่วงปรับลดภาษีตามกรอบ AEC น่นั เอง

       ในขณะที่การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรด้านการส่งออกกับประเทศนอกกลุ่มอาเซียนพบว่ามี
อตั ราการใชท้ ี่ต่ํากว่าประเทศในกลุ่มอาเซียน โดยระหว่าง พ.ศ. 2549–2555 มีค่าเฉลยี่ อยู่ที่ร้อยละ 28.1
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64