Page 54 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 54

10-44 เศรษฐศาสตรร์ ะหว่างประเทศ
ลดลงมาอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสินค้าอิเล็กทรอนิกส์บางประเภทท่ีต้องลดภาษีศุลกากรลงมาเป็นศูนย์
ภายใตค้ วามตกลงเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology Agreement: ITA) ภายใน พ.ศ. 2543

       สำ� หรบั นโยบายการคา้ ในระดบั ภมู ภิ าคนน้ั ไทยไดม้ กี ารผลกั ดนั ใหม้ กี ารเปดิ เขตการคา้ เสรอี าเซยี น
(ASEAN Free Trade Area: AFTA) ไดเ้ ปน็ ผลสำ� เรจ็ ใน พ.ศ. 2536 ในการประชมุ สดุ ยอดผนู้ ำ� อาเซยี น
คร้ังท่ี 4 ณ ประเทศสิงคโปร์ โดยสาระสำ� คญั ของข้อตกลง AFTA คือการลดอปุ สรรคทางการคา้ ระหว่าง
กันไม่ว่าจะเป็นการลดภาษีศุลกากรระหว่างประเทศสมาชิกให้เหลือร้อยละ 0–5 ภายในระยะเวลา 10 ปี
หรือสน้ิ สุดใน พ.ศ. 2546 และได้ก�ำหนดเปา้ หมายการลดภาษีใหเ้ หลือรอ้ ยละ 0 ภายในปี 2553 ส�ำหรบั
6 สมาชกิ เดิม (ไทย อินโดนีเซยี ฟิลปิ ปนิ ส์ มาเลเซยี สิงคโปร์ และบรไู น) และภายในปี 2558 ส�ำหรบั 4
สมาชกิ ใหม่ (ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม และเมยี นมา) นอกจากนน้ั ยงั มกี ารยกเลกิ มาตรการทมี่ ใิ ชภ่ าษศี ลุ กากร
เช่น การก�ำหนดให้ยกเลิกมาตรการจ�ำกัดปริมาณ (quantitative restriction) การยกเลิกการเก็บค่า
ธรรมเนียมพเิ ศษ (customs surcharges) เป็นต้น

       ระยะที่สาม (พ.ศ. 2544–2549) สถานการณ์การเจรจาในองค์การการค้าโลกที่อยู่ในสภาวะ
ชะงกั งันในขณะทไี่ ทยต้องการหาตลาดการค้าใหม่ๆ ประกอบกบั รูปแบบการท�ำงานของรัฐบาลในขณะน้นั
มีส่วนส�ำคัญในการผลักดันนโยบายการค้าระหว่างประเทศของไทยที่มุ่งเน้นไปยังการจัดท�ำข้อตกลงเขต
การค้าเสรี ต้ังแต่จากวิกฤตเศรษฐกิจเอเชียเป็นต้นมา ประเทศไทยได้มีความพยายามเปิดเสรีทางการค้า
มากย่ิงข้ึน โดยอาศัยการเปิดตลาดจากการเจรจาทางการค้าในเวทีพหุภาคีภายใต้กรอบของ WTO แต่
อย่างไรก็ตามหลังจากการเจรจาครง้ั ท่ี 9 ในรอบโดฮา (Doha round) ซ่ึงเร่มิ ใน พ.ศ. 2544 ไม่มคี วามคบื
หนา้ สง่ ผลใหน้ โยบายการค้าระหวา่ งประเทศของไทยตอ้ งเปลี่ยนไปเปน็ การเปดิ ตลาดกบั ต่างประเทศโดย
อาศัยการจัดท�ำข้อตกลงเขตการค้าเสรีท้ังในรูปแบบพหุภาคีและทวิภาคีแทน นอกจากนั้นการท่ีนายก
รัฐมนตรีในขณะน้ันบริหารประเทศตามแบบ CEO ที่เน้นการตัดสินใจอย่างรวดเร็ว จึงมีผลท�ำให้ในช่วง
เวลาดงั กล่าวประเทศไทยมคี วามเกี่ยวข้องกับการจัดทำ� ขอ้ ตกลงเขตการค้าเสรเี ปน็ จำ� นวนมาก ไดแ้ ก่

            •	 ความตกลงการคา้ เสรไี ทย-ออสเตรเลยี (Thailand-Australia Free Trade Agreement:
TAFTA)

            •	 ความตกลงหนุ้ สว่ นเศรษฐกจิ ทใ่ี กลช้ ดิ ยงิ่ ขนึ้ ไทย-นวิ ซแี ลนด์ (Thailand-New Zealand
Closer Economic Partnership: TNZCEP)

            •	 เขตการค้าเสรอี าเซยี น-จีน (- China Free Trade Agreement: ASEAN)
            •	 เขตการคา้ เสรี ไทย-อินเดยี (India-Thailand Free Trade Area: ITFTA)
            •	 ความตกลงหุ้นสว่ นเศรษฐกิจทใี่ กล้ชิดไทย-ญป่ี ่นุ (Japan-Thailand Economic Part-
nership Agreement: JTEPA)
            •	 ความตกลงวา่ ดว้ ยการเปน็ หนุ้ สว่ นทางเศรษฐกจิ ทใี่ กลช้ ดิ ยงิ่ ขน้ึ ไทย-เปรคู วามตกลงการ
คา้ เสรไี ทย-ชิลี (Thailand-Chile Free Trade Agreement)
            •	 เขตการคา้ เสรี BIMSTEC (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Tech-
nical and Economic Cooperation)
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59