Page 55 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 55

การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ 10-45
            •	 ความตกลงหนุ้ สว่ นเศรษฐกจิ อาเซยี น-ญป่ี นุ่ (ASEAN-Japan Comprehensive Eco-
nomic Partnership: AJCEP)
            •	 เขตการคา้ เสรอี าเซยี น-สาธารณรฐั เกาหลี (ASEAN-Korea Free Trade Agreement:
AKFTA)
            •	 ความตกลงเพื่อจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (Agreement
Establishing the ASEAN-Australia-New Zealand Free Trade Area: AANZFTA)
            •	 ความตกลงการค้าเสรอี าเซยี น-อนิ เดยี (ASEAN–INDIA Free Trade Agreement:
AIFTA )
            •	 ความตกลงการคา้ เสรไี ทย-สมาคมการค้าเสรแี หง่ ยุโรป (European Free Trade As-
sociation: EFTA)
            •	 ความตกลงการค้าเสรีระหวา่ งไทย-ตุรกี (Free Trade Agreement between the Re-
public
            •	 อาเซียน+3 (ASEAN+3)
            •	 อาเซยี น+6 (ASEAN+6) หรอื อกี ชอื่ หนงึ่ ในปจั บุ นั คอื ความตกลงพนั ธมติ รทางเศรษฐกจิ
ระดบั ภูมภิ าค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP)
       ระยะท่ีส่ี (พ.ศ. 2550–พฤษภาคม 2554) เปน็ ชว่ งทกี่ ารเจรจาการจดั ทำ� ขอ้ ตกลงเขตการคา้ เสรไี ด้
หยดุ ชะงกั ลง เนอ่ื งจากเกดิ การรฐั ประหารจนนำ� ไปสกู่ ารประกาศใชม้ าตรา 190 ภายใตร้ ฐั ธรรมนญู แหง่ ราช
อาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 ซงึ่ เกดิ ขน้ึ จากเจตนารมณท์ ต่ี อ้ งการใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ ม และเพอ่ื ความโปรง่ ใส
ในการทำ� หนงั สอื สญั ญาและสนธสิ ญั ญาระหวา่ งประเทศ โดยครอบคลมุ ถงึ การเจรจาการคา้ ระหวา่ งประเทศ
ดว้ ย ดงั นัน้ การเจรจาการจัดทำ� ขอ้ ตกลงเขตการคา้ เสรีใดๆ กต็ ามจึงจ�ำเปน็ ตอ้ งดำ� เนนิ การด้วยโปร่งใส มี
การศึกษาผลกระทบท้ังด้านบวกและลบอย่างรอบคอบและระมัดระวัง อีกท้ังจ�ำเป็นต้องมีการฟังความคิด
เหน็ ของสาธารณชนอกี ดว้ ย สง่ ผลใหก้ ารดำ� เนนิ การจดั ทำ� ขอ้ ตกลงเขตการคา้ เสรจี งึ ใชเ้ วลานานกวา่ ในอดตี
ท่ผี า่ นมาซง่ึ กระทำ� อยา่ งเรง่ รบี และขาดความระมัดระวัง
       ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวรัฐบาลมุ่งเน้นการจัดท�ำข้อตกลงเขตการค้าเสรีในรูปแบบอาเซียนบวก
(ASEAN +) โดยได้มีการลงนามในรูปแบบดังกล่าวถึง 4 ฉบับ ได้แก่ ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจ
อาเซียน-ญ่ีปุ่นเขตการค้าเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลีความตกลงเพ่ือจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-
ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ และความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-อินเดีย นอกจากนั้นยังได้ริเริ่มการจัดท�ำข้อ
ตกลงเขตการคา้ เสรกี บั กลมุ่ สหภาพยโุ รป โดยเปลย่ี นรปู แบบจากเขตการคา้ เสรไี ทย-สหภาพยโุ รป (Thai-
land-EU Free Trade Area) เป็นความตกลงการคา้ เสรรี ะหวา่ งอาเซยี น-สหภาพยโุ รป (ASEAN-EU
Free Trade Agreement) แทน
       ระยะที่ห้า (พฤษภาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา) ภายหลงั จากนางสาวยง่ิ ลกั ษณ์ ชนิ วตั ร ขน้ึ ด�ำรง
ตำ� แหนง่ นายกรฐั มนตรี การเจรจาการจดั ทำ� ขอ้ ตกลงเขตการคา้ เสรใี นรปู แบบทวภิ าคไี ดก้ ลบั มาเปน็ ทสี่ นใจ
อีกครั้ง โดยการเจรจาในกรอบความตกลงว่าด้วยการเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจท่ีใกล้ชิดยิ่งขึ้นไทย-เปรู
และความตกลงการคา้ เสรไี ทย-ชลิ ี ไดม้ กี ารดำ� เนนิ การจนมผี ลในทางปฏบิ ตั ิ นอกจากนนั้ กรอบความตกลง
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60