Page 51 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 51

การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ 10-41

เขตการค้าเสรีเอเชียใต้

       เขตการค้าเสรีเอเชียใต้ (South Asian Free Trade Area: SAFTA) เป็นการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิจในรูปแบบเขตการค้าเสรี ท่ีประกอบไปด้วยสมาชิก 8 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน
อฟั กานสิ ถาน ศรลี งั กา บงั กลาเทศ เนปาล ภฐู าน และมลั ดฟี ส์ โดยมที ม่ี าแรกเรมิ่ จากการเปน็ สมาคมความ
รว่ มมือแหง่ ภูมิภาคเอเชียใต้ (South Asian Association for Regional Cooperation: SAARC) ซึ่ง
กอ่ ต้งั ใน พ.ศ. 2528 มจี ดุ ประสงค์เพอ่ื สรา้ งความแข็งแกร่งทางดา้ นเศรษฐกิจในหมสู่ มาชิก ตอ่ มาในวันที่
11 เมษายน 2536 สมาชกิ ไดร้ ว่ มกนั ลงนามใน SAARC Preferential Trading Arrangement (SAPTA)
ซง่ึ เปน็ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในรปู แบบเขตสทิ ธพิ เิ ศษทางการคา้ ซงึ่ มผี ลบงั คบั ใชต้ ง้ั แตว่ นั ที่ 7 ธนั วาคม
2538 จนเกอื บ 10 ปีใหห้ ลงั ในการประชุมสดุ ยอดคร้ังที่ 12 เดอื นมกราคม 2547 สมาชกิ ไดบ้ รรลขุ อ้ ตกลง
จดั ตั้งเขตการคา้ เสรีเอเชียใต้ (Agreement of South Asian Free Trade Area: SAFTA) ซง่ึ กําหนด
ให้มีผลบังคับใช้ต้ังแต่เดือนมกราคม 2549 เป็นต้นไป แต่อย่างไรก็ตาม SAFTA มีพัฒนาการท่ี
ค่อนข้างช้า โดยสาเหตุหลักๆ คือความไม่ลงรอยกันระหว่างอินเดียและปากีสถาน อีกทั้งสมาชิกในกลุ่ม
ส่วนใหญย่ งั เปน็ ประเทศดอ้ ยพัฒนา

                        ตารางที่ 10.14 พัฒนาการของเขตการค้าเสรีเอเชียใต้

  พ.ศ. พัฒนาการ
  2528 อนิ เดยี ปากสี ถาน ศรีลงั กา บงั กลาเทศ เนปาล ภฐู าน และมัลดฟี สล์ งนามจัดตง้ั สมาคมความรว่ ม

           มือแห่งภูมภิ าคเอเชยี ใต้ (South Asian Association for Regional Cooperation: SAARC)
  2536 จัดตง้ั เป็นเขตสิทธพิ เิ ศษทางการคา้ SAARC Preferential Trading Arrangement (SAPTA)
  2538 SAPTA มีผลบังคบั ใช้
  2547 จัดต้ังเป็นเขตการค้าเสรเี อเชยี ใต้ (SAFTA)
  2549 SAFTA มีผลบงั คบั ใช้
  2554 อัฟกานิสถาน เข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ ในล�ำดับท่ี 8

กิจกรรม 10.2.4
       ความตกลงหนุ้ สว่ นทางเศรษฐกิจระดับภมู ภิ าค (RCEP) คือการรวมกรอบการเปดิ เสรแี ละความ

รว่ มมอื ระหวา่ ง ASEAN กับอกี 6 ประเทศ อะไรบ้าง

แนวตอบกิจกรรม 10.2.4
       จนี เกาหลใี ต้ ญ่ปี นุ่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดยี
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56