Page 50 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 50
10-40 เศรษฐศาสตร์ระหวา่ งประเทศ
ใหเ้ หลือ 0-5% โดยเริม่ ลดภาษใี น พ.ศ. 2560 ส�ำหรับกมั พูชา เร่ิมลดภาษีใน พ.ศ. 2558 ส�ำหรับเมียนมา
และลาว และเรมิ่ ลดภาษใี นปี 2556 สำ� หรบั เวยี ดนาม สว่ นสนิ คา้ ออ่ นไหวสงู (HighSensitive List: HSL)
ซง่ึ มเี พียง 3 ประเทศ ได้แก่ อนิ โดนีเซีย ฟิลิปปนิ ส์ และมาเลเซีย ทีม่ รี ายการสินค้าดังกล่าวไดม้ กี ารทยอย
ลดภาษตี ้ังแต่ พ.ศ. 2551 เป็นตน้ มา
ส�ำหรับในอนาคตความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน คาดว่าจะมีการขยายการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคใหก้ วา้ ง โดยเรมิ่ แรกมเี ปา้ หมายรวมกรอบการเปดิ เสรแี ละความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ
ในอาเซียนกบั อกี 6 ประเทศภาคี FTAs เขา้ ไวใ้ นกรอบเดยี วกนั (ASEAN+6) แล้วจึงพฒั นาตอ่ ยอดจาก
ความตกลงการค้าเสรีที่มีอยู่แล้วโดยประเทศภาคี FTAปัจจุบันของอาเซียน ซ่ึงประกอบไปด้วย จีน
เกาหลใี ต้ ญปี่ นุ่ ออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนดแ์ ละอนิ เดยี โดยถา้ ประสบความสำ� เรจ็ จะเรยี กความตกลงฉบบั ใหม่
นว้ี า่ ความตกลงห้นุ สว่ นทางเศรษฐกิจระดบั ภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partner-
ship: RCEP)
ตารางท่ี 10.13 พัฒนาการของเขตการค้าเสรีอาเซียน
พ.ศ. พัฒนาการ
2535 บรไู น อนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สงิ คโปร์ ไทย จดั ตงั้ เขตการคา้ เสรอี าเซยี น (ASEAN Free
Trade Area: AFTA)
2537 เวียดนามเข้ารว่ มเป็นสมาชกิ
2539 ลาวและเวียดนามเข้าร่วมเป็นสมาชิก
2542 กมั พชู าเข้ารว่ มเป็นสมาชิก
2553 ประกาศใช้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement:
ATIGA) โดยประเทศอาเซียนเดิม คือ ไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ฟลิ ิปปนิ ส์ สงิ คโปร์ และบรูไน
มีสิ่งท่ตี ้องด�ำเนินการดังต่อไปนคี้ ือ
ปรบั ลดอัตราภาษีในบญั ชภี าษีสินคา้ (Inclusion List: IL) ให้เหลอื 0%
สินคา้ อ่อนไหว (Sensitive List: SL) จะตอ้ งลดภาษลี งเหลือ 0-5%
ยกเลิกมาตรการทีม่ ใิ ช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) ใหห้ มดไป
2555 - ฟิลปิ ปินส์ต้องยกเลิกมาตรการทีม่ ิใชภ่ าษี (NTBs) ให้หมดไป
- ASEAN ประกาศการเจรจา RCEP อยา่ งเปน็ ทางการในการประชมุ สุดยอดอาเซยี นครง้ั ที่ 21
2558 ประเทศอาเซยี นใหม่ 4 ประเทศ คอื กัมพชู า ลาว เมยี นมา และเวียดนาม (CLMV) จะต้องลด
ภาษีทกุ รายการในบญั ชภี าษีสนิ ค้า (IL) ให้มอี ัตราภาษเี หลือ 0%