Page 51 - คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
P. 51

หนว่ ยรบั ขอ้ มลู และหน่วยแสดงผล 5-39
            2.1.3 สัมผัส (tactile) เป็นการพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองโดยการสัมผัส เรียกว่า
เทคโนโลยสี มั ผสั หรอื เทคโนโลยแี ฮปตกิ ส์ (haptic technology) เปน็ เทคโนโลยกี ารปอ้ นกลบั เพอ่ื ใหร้ สู้ กึ
ถึงการสัมผสั โดยการใชแ้ รง (force) การส่นั สะเทือน (vibration) หรอื การเคล่ือนท่ี (movement) เพือ่
ให้ผู้ใช้งานรับรู้ต่อการสัมผัส ตัวอย่างเช่น ระบบส่ันสะเทือนในโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือมือถือ (mobile
phone) เคร่ืองอ่านพิกัด และจอสัมผัส ได้น�ำใช้เทคโนโลยีนี้มาใช้ในตอบสนองโดยการส่ันสะเทือนจาก
มอเตอรป์ ระเภทเพยี โซ (piezoelectric motor) ในการใชง้ านอปุ กรณต์ า่ งๆ เนอื่ งจากผใู้ ชไ้ มส่ ามารถรสู้ กึ
ถึงการสัมผัสปุ่มบนหน้าจอท�ำให้ยากต่อการใช้งานเพราะไม่รู้ว่าสัมผัสโดนปุ่มหรือไม่ การน�ำเทคโนโลยีนี้
เข้ามาใช้งานจะท�ำให้มีการตอบสนองทางกายภาพเมื่อสัมผัสโดยปุ่มบนจอภาพ อุปกรณ์เหล่านั้นจะสั่น
สะเทือน เพอื่ ให้ทราบว่าไดป้ ้อนข้อมูลลงไปแลว้
            2.1.4 เสียง (audio) เปน็ รปู แบบการแสดงผลประเภทหนึง่ ในการใชเ้ ทคโนโลยเี สยี งดจิ ิทัล
(digital audio) ซง่ึ สามารถบนั ทกึ จดั เกบ็ สรา้ งใหม่ ดว้ ยสญั ญาณเสยี ง (audio signal) ในรปู แบบดจิ ทิ ลั
(digital form) ซึ่งเสียงที่ได้ออกมานั้นแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ เสียงท่ีคอมพิวเตอร์ผลิตขึ้นมาหรือ
เสียงสงั เคราะห์ (synthesized sound) อกี ประเภทคือเสยี งทีไ่ ดจ้ ากการสุ่มสญั ญาณ (sampling signal)
ซึ่งในการแสดงผลเครื่องแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณแอนะล็อก (digital to analog converter;
DAC) แลว้ สง่ สัญญาณไปอปุ กรณ์แสดงผลเสยี ง
            2.1.5 วีดิทัศน์ (video) เป็นข้อมูลซึ่งประกอบด้วยภาพดิจิทัลและเสียงซ่ึงเปล่ียนแปลงไป
ตามชว่ งเวลา ขอ้ มูลวดี ิทศั น์ดจิ ทิ ัลถูกจัดเก็บในรปู แบบเลขฐานสอง สามารถแกไ้ ขและบบี อัดไดโ้ ดยการใช้
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ นอกจากนนั้ ยงั มคี วามปลอดภยั สงู เนอ่ื งจากสามารถตงั้ รหสั ผา่ นได้ ในการแสดงผล
ตอ้ งใชจ้ อภาพและอปุ กรณแ์ สดงผลข้อมูลเสยี งควบคกู่ นั
       2.2 ข้อมูลการแสดงผลทางกายภาพ นอกจากการแบ่งประเภทของข้อมูลตามรูปแบบของการ
แสดงผลแล้ว ยงั สามารถแบง่ ข้อมลู การแสดงผลทางกายภาพได้ โดยการแบง่ ประเภทนี้ประกอบดว้ ยการ
แสดงขอ้ มลู แบบชว่ั คราว และการแสดงผลขอ้ มลู แบบถาวร ซงึ่ ในแตล่ ะอปุ กรณแ์ สดงผลมคี วามสามารถใน
การแสดงผลช่ัวคราวหรอื ถาวรแตกต่างกนั ไป โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี
            2.2.1 การแสดงผลข้อมูลแบบชั่วคราว หมายถึงการแสดงผลของข้อมูลออกมาให้ผู้ใช้ได้
รบั รขู้ อ้ มลู ในขณะนนั้ แตเ่ มอ่ื หยดุ การทำ� งานหรอื เลกิ ใชแ้ ลว้ ขอ้ มลู นน้ั กจ็ ะหายไป ไมเ่ หลอื เปน็ วตั ถทุ สี่ ามารถ
เกบ็ ได้ ถา้ ตอ้ งการเกบ็ ผลลพั ธน์ นั้ กส็ ามารถสง่ ขอ้ มลู ไปเกบ็ ในรปู ของขอ้ มลู ในหนว่ ยเกบ็ ขอ้ มลู สำ� รอง เพอื่
ใหส้ ามารถใชง้ านไดใ้ นภายหลงั มกั จะเรยี กผลลพั ธห์ รอื สารสนเทศมาปรากฏบนจอภาพหรอื สกรนี และเมอ่ื
ไมม่ กี ระแสไฟฟ้ากจ็ ะหายไปวา่ ส�ำเนาชัว่ คราวหรอื ส�ำเนาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (soft copy) มกั พบเหน็ อปุ กรณ์
ที่แสดงผลขอ้ มูลแบบช่วั คราว เชน่ จอภาพ อปุ กรณ์แสดงผลขอ้ มลู เสยี ง เป็นตน้
            2.2.2 การแสดงผลข้อมูลแบบถาวร หมายถงึ การแสดงผลของขอ้ มลู ทสี่ ามารถจบั ตอ้ งและ
อาจจะเคลอื่ นยา้ ยไดข้ นึ้ อยกู่ บั ขนาด มกั จะแสดงผลลพั ธข์ องขอ้ มลู บนกระดาษโดยการใสว่ สั ดลุ งใหย้ ดึ เกาะ
ลงบนกระดาษ ตวั อย่างวัสดุ เชน่ นำ�้ หมึก ผงหมึก ผงโลหะ พลาสตกิ ฯลฯ ซึง่ ผ้ใู ช้สามารถนำ� ไปใชง้ าน
ในสถานท่ตี า่ งๆ หรอื ใหผ้ ู้อื่นรบั รู้ผลลพั ธ์น้ันในทใี่ ดๆ ก็ได้ มกั จะเรียกผลลพั ธห์ รือสารสนเทศที่ได้จากการ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56