Page 53 - คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
P. 53

หนว่ ยรบั ข้อมลู และหน่วยแสดงผล 5-41

เรื่องท่ี 5.2.2
อุปกรณ์แสดงผล

       อุปกรณ์แสดงผล ในเร่ืองท่ี 5.2.2 ประกอบไปด้วยจอภาพ เครื่องพิมพ์ อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล
เสียง ซ่ึงในแต่ละอุปกรณ์จะแบ่งประเภทต่างๆ ขึ้นอยู่กับเกณฑ์การจ�ำแนก เช่น การแบ่งจอภาพตาม
ลักษณะทางรูปลกั ษณ์ การแบ่งเคร่อื งพมิ พ์ตามมติ ขิ องงาน การแบ่งตามลักษณะทเ่ี ห็นท่วั ไป เป็นต้น

1. 	 จอภาพ

       จอภาพ (monitor) ได้มีบทบาทในการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างมาก เพื่อให้ผู้ใช้งานได้รับรู้ถึง
ข้อมูลท่ีป้อนเข้าไปผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล โดยจอภาพเป็นอุปกรณ์แสดงผลท่ีสามารถท�ำให้รับรู้อย่างทันที
ทันใดถึงการท�ำงานของคอมพิวเตอร์ จอภาพจะมีแสดงผลอย่างต่อเน่ืองถึงการเปลี่ยนแปลงและเพิ่มเติม
ซ่ึงมคี วามสอดคลอ้ งกบั การป้อนขอ้ มลู ของผ้ใู ช้งาน

       1.1		การท�ำงานของจอภาพ โดยปกติจอภาพถกู ใชเ้ พอื่ แสดงผลแบบช่ัวคราว ซ่งึ ทำ� งานด้วยการ
ท่ีมีกระแสไฟฟ้าเข้าสู่วงจรไฟฟ้าเพ่ือท�ำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของจอภาพท�ำงาน จอภาพถูกเชื่อมต่อ
กบั ซพี ยี ขู องคอมพวิ เตอรโ์ ดยการสง่ ขอ้ มลู ผา่ นชปิ ประมวลผลกราฟกิ (Graphics Processing Unit; GPU)
เมอ่ื การประมวลผลเสรจ็ ส้ินจะส่งข้อมูลไปให้กับจอภาพ ส�ำหรับชิปประมวลผลกราฟกิ มที ้งั แบบแสดงภาพ
สองมิติและสามมิติ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับหลายปัจจัยที่ท�ำให้มีการแสดงผลที่มีประสิทธิภาพ เช่น ความเร็วของ
การประมวลผล กลไกและอัลกอริทึมของการประมวลผล ฯลฯ

       1.2		ประเภทของจอภาพ การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทำ� ใหเ้ ทคโนโลยจี อภาพมคี วามสามารถมากขนึ้
ไมว่ า่ จะเปน็ ความละเอยี ดของการแสดงผล (display resolution) ขนาดของจอภาพ (display size) อตั รา
การสแกนภาพ (display refresh rate) ระยะห่างระหว่างพิกเซลบนจอภาพ (dot pitch of
computer display) นอกจากนนั้ ยงั พฒั นาใหม้ นี ำ�้ หนกั เบา ประหยดั พลงั งาน และราคาถกู อกี ดว้ ย ซงึ่ การ
เลอื กใช้งานขน้ึ อยู่กบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ สามารถจำ� แนกประเภทของจอภาพได้ดงั นี้

            การแบ่งตามลักษณะทางรูปลักษณ์ ถูกพัฒนาขึ้นจากความต้องการของการใช้งานและ
ลกั ษณะอุปกรณ์ทีต่ ้องการในการใชง้ านใหเ้ หมาะสมในงาน ในท่นี ีจ้ ะขอกล่าวถึงจอภาพทม่ี กั จะเห็น เชน่

                1)	จอภาพซีอาร์ที (Cathode Ray Tubes Monitor; CRT monitor) เป็นเทคโนโลยี
ของจอแสดงผล (display technology) ในยุคแรกๆ ดังภาพที่ 5.41 โดยเป็นสัญญาณแบบแอนะล็อก
นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บราวน์ (Kari Ferdinand Braun) เป็นผู้ประดิษฐ์
หลอดรังสีคาโธด (cathode ray tube) การแสดงผลของภาพน้ันท�ำได้โดยการใช้หลอดสุญญากาศ
ยิงล�ำแสงอิเล็กตรอน (electrons beam) ผ่านสนามแม่เหล็กที่มีตัวเหนี่ยวน�ำทิศทาง และตัวเหน่ียวน�ำ
ความชัด ซ่ึงใช้ควบคุมทิศทางของล�ำแสงอิเล็กตรอนให้สามารถไปทางซ้าย ขวา บน และล่าง โดยการ
ควบคุมผ่านวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเม่ือยิงอิเล็กตรอนออกไปกระทบจอภาพซ่ึงฉาบฟอสฟอรัสเรืองแสง
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58