Page 151 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 151
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 5-25
สปป.ลาว (แขวงบ่อแกว้ แขวงหลวงนำ�้ ทา) – จีน (สบิ สองปนั นา-คนุ หมงิ ) เส้นทางใน สปป.ลาว ยาวประมาณ
247 กม. แล้วเสร็จเมื่อ ก.พ.2551 และเส้นทางในจีน แล้วเสร็จในปี 2552 โดยมีสะพานมิตรภาพแห่งท่ี 4
เป็นจุดเช่ือมไทย-ลาว (ก�ำหนดแล้วเสร็จในปี 2555) ท�ำให้สปป.ลาวกลายเป็นสะพานเช่ือมอินโดจีน (Land
Bridge) ดังน้ัน ถนนทุกสายจึงหันมาสนใจการลงทุนท�ำการค้ากับ สปป.ลาว มากข้ึน เพราะระบบ Logistics ท่ีมี
การเปล่ียนแปลงการคมนาคมขนส่งท่ีถ่ายเทได้สะดวกขึ้น ท�ำให้ผู้ประกอบการเริ่มมอง สปป.ลาว ทะลุไปยัง
เวียดนาม และจีน สปป.ลาว อย่ทู ่ามกลางประเทศเศรษฐกิจดาวร่งุ ทางเหนือติดจีน(ยนู นาน 43 ล้านคน) ตะวนั
ตกเปน็ ไทย (65 ลา้ นคน) ดา้ นตะวนั ออกเปน็ เวยี ดนาม (83 ลา้ นคน) และทางตอนใตเ้ ปน็ สปป.ลาว (13 ลา้ นคน)
เฉพาะตลาดตามรอยตะเข็บชายแดน มีประชาชนไม่ตำ่� กว่า 200 ลา้ นคน กลา่ วไดว้ า่ สปป.ลาว อยทู่ า่ มกลาง
“ทะเลคน” รอบด้านเป็นประเทศท่ีค่อนข้างมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ดังน้ัน หากมีการบริหารจัดการที่ดี
เป็นโอกาสในการฟื้นฟูประเทศได้อย่างรวดเร็ว สปป.ลาว จัดอยู่ในประเทศยากจนแต่มีทรัพยากรธรรมชาติ
ทส่ี มบรู ณ์ มพี นื้ ทกี่ ารเกษตรขนาดใหญท่ มี่ คี า่ เชา่ ถอื ครองทดี่ นิ ทไี่ มส่ งู มากนกั และสามารถเชา่ ไดใ้ นระยะเวลานาน
พอสมควร มแี ร่ธาตุตา่ งๆ แทบทุกชนิดเช่น ถ่านหินลิกไนต์ ดบี ุก ยิปซั่ม ตะกว่ั สังกะสี บอ็ กไซต์เหลก็ ทองแดง
อญั มณี ไปจนถึงเหมืองทองคำ� ขนาดใหญใ่ นเอเชีย ทรี่ ้จู ักในนามของเหมืองเซโปน แขวงสะหวันนะเขต เป็นเหตุ
ให้นักลงทุนเขา้ ไปลงทุนกนั มากข้นึ สปป.ลาว มนี โยบายในการผลติ ไฟฟ้าจากพลังนำ้� 20,000 เมกกะวตั ตต์ ่อปี
สปป.ลาวถอื ว่าเปน็ แบตเตอรแี่ หง่ เอเชีย แต่ปจั จุบันมีการใช้ไปเพียงรอ้ ยละ 2 เท่านัน้ ในขณะนที้ างไทยได้เขา้ ไป
ลง MOU เพอ่ื สรา้ งเขอื่ นซอ้ื ไฟฟา้ จาก สปป.ลาว หลายโครงการ อกี 5 ปขี า้ งหนา้ มลู คา่ การสง่ ออกไฟฟา้ ของ
สปป.ลาว อาจจะเกินดุลการค้ากบั ประเทศไทย
นักลงทนุ ต่างชาติ ให้ความสนใจลงทนุ ใน สปป.ลาว มากขึ้นอยา่ งตอ่ เนือ่ ง โดยไดร้ บั ปจั จัยเก้ือหนนุ
จากกฎหมายสง่ เสริมการลงทุนฉบบั ล่าสดุ ของ สปป.ลาว ปี 2552 ซ่ึงมีความเปน็ สากลมากขน้ึ ประกอบกับสิทธิ
ประโยชนท์ ่นี กั ลงทนุ จะได้รับจากการท่ี สปป.ลาว ได้เขา้ เป็นสมาชกิ ล�ำดับล่าสดุ ขององคก์ ารการค้าโลก (World
Trade Organization: WTO) และการเขา้ สู่ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community :
AEC) ในปี 2558 อยา่ งไรกต็ ามปจั จบุ นั การลงทนุ ใน สปป.ลาว ยงั มอี ปุ สรรคอยบู่ า้ ง โดยเฉพาะระบบสาธารณปู โภค
ท่ียังไมเ่ พียงพอ ขณะท่คี วามตอ้ งการสำ� นักงาน ท่ีอย่อู าศัยระดบั บน และสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกเพ่ือรองรบั นกั
ลงทนุ และนกั ทอ่ งเทยี่ วตา่ งชาตเิ พมิ่ ขน้ึ ตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะในนครหลวงเวยี งจนั ทนซ์ งึ่ ถอื เปน็ ใจกลางความเจรญิ
และศนู ย์กลางการเจรจาตดิ ตอ่ ธุรกิจทีส่ �ำคญั ของ สปป.ลาว ดงั น้นั รฐั บาล สปป.ลาว จึงอนมุ ัติใหม้ ีการดำ� เนนิ
โครงการ “Vientiane New World” ซ่ึงเป็นโครงการกอ่ สร้างเขตเมอื งใหมท่ ่ีเกาะดอนจนั (Don Chan Island)
ริมแม่น้�ำโขง ในนครหลวงเวียงจันทน์ โดยรวมเอาส่ิงอ�ำนวยความสะดวกซ่ึงมีความทันสมัยและเอ้ือต่อการท�ำ
ธรุ กิจรวมทง้ั ท่ีอย่อู าศัยระดบั บนไว้ด้วยกัน อันจะสง่ ผลใหพ้ ืน้ ทดี่ งั กล่าวกลายเป็นแลนด์มาร์คส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง
ของนครหลวงเวยี งจันทน์ในอีก 6-8 ปีข้างหนา้ (ธนาคารเพ่ือการสง่ ออกและนำ� เขา้ แหง่ ประเทศไทย, 2556)
ปัญหาและอุปสรรคทางการค้าระหว่างไทยกับ สปป.ลาว ส�ำหรับนักธุรกิจที่สนใจจะท�ำการค้ากับ
สปป.ลาว ควรท่ีจะพจิ ารณาถงึ ข้อจำ� กดั หรือสิ่งที่อาจท�ำใหเ้ กดิ ปญั หา อุปสรรคในทางการค้า ดงั ต่อไปนี้