Page 304 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 304

10-20	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซ2ีย0น

ทม่ี า : www.asean-info.com, 4 มกราคม 2560

      การแตงกายของชาวฟลิปปนสในยุคแรกๆ นิยมใชเครื่องประดับตบแตงตามรางกาย เชน
ชาวเกาะวิสายาสจะนิยมสักตามใบหนาและรางกายนิยมสวมเครื่องประดับที่ทําดวยทองคําและเพชร
พลอย ชาวพ้ืนเมืองอ่ืนๆ นิยมใสปลอกแขน กําไลและสรอยคอ หลังจากท่ีสเปนเขายึดและปกครอง
ฟลิปปนส ประเพณีการแตงกายจึงไดเปลี่ยนไปโดยไมมีการแตงกายแบบชาวเกาะไมมีการตกแตงดวย
เครื่องประดับและไมมีการสักตามรางกายหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 สิ้นสุดลง ฟลิปปนสไดรับเอกราช
ทําใหวัฒนธรรมการแตงกายมีการผสมผสานจากอิทธิพลของหลายชาติ ทําใหเครื่องแตงกายประจําชาติ
ของฟลิปปนสมีลักษณะเปน เส้ือคอกวางแบบตะวนั ตกแขนยกตัง้ เปนปกกวาง ทําจากผาบางและแขง็ อยา ง
ไหมสับปะรด นุงกระโปรงติดกับเส้ือเปนชุดเดียวกัน สวนชนพ้ืนเมืองตามเกาะตางๆ จะแตงกายคลาย
ชาวมลายูและอินโดนีเซีย คือ นุงโสรงปาเตะ สวมเส้ือผาใยสับปะรด หรือผาแพรแขนกระบอกยาวจด
ขอ มอื มผี า พาดบา สว นผูชายจะสวมเส้อื แขนยาวท่ีทอจากใยสบั ปะรด และนุงกางเกงแบบสากลเรียกวา
บารองตากาล็อก (Barong tagalong) ซึ่งแปลวา เส้ือผาของชาวตากาล็อกโดยไดรับอิทธพิ ลจากสเปน
ซึ่งกําหนดใหเปนผาโปรงใสเนื่องจากจะไดไมแอบพกอาวุธมาทํารายคนสเปนและไมมีกระเปาเพ่ือปองกัน
การขโมยของ สําหรับชุดของสตรีเรียกวา บาโร ซายา (Baro’t saya) เปนชุดสองทอนเส้ือกับ
กระโปรงยาวกรอมเทาเช่ือวาไดรับอิทธิพลจากสเปน ตอมาการแตงกายแบบน้ีคอยๆ พัฒนามาเปนชุดที่
เรียกวามาเรีย กลารา (Maria Clara)2 ซ่ึงประกอบดวยเคร่ืองแตงกาย 4 ช้ิน ไดแก กระโปรงพอง
ยาวถึงพ้ืน(Saya) ตัวเสื้อคอกวางสวมไวดานใน (Pauelo) ผาลักษณะคลายผาคลุมไหลทําจากผาใย
สับปะรด โปรงใสเชื่อมกับแขนยาวทรงระฆังยาวถึงขอมือ (Camisa) และผาคลุมทับบนกระโปรงอีกชั้น

2 เปนชื่อท่ไี ดจากตวั ละครของนิยายอันลว งละเมิดมไิ ด (Noli Me Tangere) ที่โฮเซ รีซาล (Jose Rizal) เขยี นขึ้นเม่ือป ค.ศ. 1890
   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308   309