Page 317 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 317
โครงกา3รบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 11-3
1. สภาพท่วั ไปและประวตั คิ วามเปนมา
1.1 ที่ตั้ง
ประเทศสาธารณรัฐอินโดนีเซียประกอบดวยหมูเกาะจํานวนมากท่ีสุดในโลกกวา 13,677 เกาะ
(บางตําราบอกวามีถึง 17,508 เกาะ) ต้ังอยูระหวางเสนแวงที่ 75 ถึง 145 องศาตะวันออกจากเกาะ
ซาบางซ่ึงเปนเกาะเล็กๆ อยูเลยไปทางปลายสุดทางภาคเหนือของเกาะสุมาตราไปจนถึงเมโรกีซึ่งอยูใกล
เขตแดนระหวางอิเรียนตะวันตกและปาปวนิวกีนี เปน ระยะทางประมาณ 3,750 กิโลเมตร และจากทิศ
เหนือจรดใตมีอาณาเขตประมาณ 1,625 กโิ ลเมตรคอื จากเสน รุง ท่ี 6 องศาเหนือถึงเสนรุงที่ 11 องศา
ใตค ือจากเขตแดนติดกับซาบาหบ นเกาะกาลิมันตัน (บอรเนียว) จนถึงเกาะเล็กๆ ช่ือเกาะโรตีที่หา งจากฝง
ตะวันออกเฉียงเหนือของออสเตรเลียประมาณ 375 กิโลเมตร ดินแดนหมูเกาะของอินโดนีเซียขนาบ
ดว ยมหาสมุทรแปซิฟกทางดา นทิศตะวันออกเฉียงเหนือและมหาสมทุ รอินเดียทางดานทิศตะวนั ตกเฉียงใต
อยูระหวางแผนดินใหญทวีปเอเชียกับทวีปออสเตรเลีย ในจาํ นวนหมูเกาะมากมายมีเกาะขนาดใหญเพียง
5 เกาะ เรียงลําดับจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกของประเทศดังนี้ เกาะสุมาตรา เกาะชวา
เกาะบอรเนียว (ทางตอนเหนือของเกาะมีดินแดนบางสวนของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียและบรูไนดวย
โดยสวนของอินโดนีเซียเรียกวากาลิมันตัน) เกาะสุลาเวสี และเกาะนิวกีนี (โดยครึ่งของเกาะเปนดินแดน
ของอนิ โดนีเซียเรียกวาปาปวตะวันตกอีกคร่ึงหนึ่งเปนดินแดนของประเทศปาปวนิวกินี) และหมูเกาะขนาด
ยอ มอีกประมาณ 30 หมูเกาะ มีเน้อื ทที่ งั้ หมด 5,070,600 ตารางกโิ ลเมตรแบงเปนพื้นดิน 1,904,443
ตารางกิโลเมตรและพ้ืนน้ํา 3,166,163 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือติดกับรัฐซาบาหและซาราวักของ
สหพนั ธรัฐมาเลเซยี ทิศใตจรดมหาสมทุ รอินเดียและทวีปออสเตรเลีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศปาปว
นิวกีนีและทิศตะวันตกมีชองแคบมะลากา (Strait of Malacca) ก้ันอาณาเขตของเกาะสุมาตรากับ
ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย โดยมีแนวชายแดนทางบกติดตอกับ 3 ประเทศ รวมระยะทาง 2,830
กโิ ลเมตร ประกอบดวยสหพันธรัฐมาเลเซีย 1,782 กิโลเมตร ปาปวนิวกินี 820 กิโลเมตร และติมอร
ตะวนั ออกหรือติมอรเ ลสเต (Timor Leste) 228 กโิ ลเมตร
1.2 ประวตั ิความเปนมา (เรยี บเรียงจากหนงั สอื ชุดเตรยี มความพรอ มฯ, 2556)
กลุมชนชาติมาเลเชื้อสายมองโกลอยดจากจีนตอนใต ยูนนานและตังเกี๋ยเร่ิมอพยพเขาสูหมูเกาะ
แหงนี้ในชว งประมาณ 4,500 ปกอนพุทธกาล โดยการนําวัฒนธรรมของยุคหินใหม ยุคบรอนช รวมทั้ง
ภาษาออสโตรนีเซียเขามาดวยและไดผสมผสานทางเช้ือชาติกับชนเผาพื้นเมืองโดยผานการแตงงานมีการ
ถายทอดองคความรู ขนมธรรมเนียมประเพณีใหแกชนพ้ืนเมือง อาทิ วิธีปลูกขาว การสรางบานเรือน