Page 321 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 321

โครงกา7รบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559    11-7

ละ 17 เสน ที่หางมี 8 แฉก และที่คอมีอีก 45 เสน โดยตัวเลขเหลานีม้ ีความสัมพันธก ับวนั ประกาศ
อิสรภาพของอนิ โดนเี ซยี ซ่ึงก็คือวนั ที่ 17 สงิ หาคม ค.ศ. 1945

      คาํ วา พญาครฑุ ปญจศลี มาจากสัญลกั ษณท ั้งหา ในโลท่ีประดบั อยูหนาอกพญาครฑุ ซง่ึ ประกอบดว ย
      1. ดาว หมายถึง การเช่อื ในพระเจาเพียงองคเดยี ว
      2. หว งโซ หมายถงึ ความเปน มนษุ ยท เี่ จริญและมีอารยะ
      3. ตน Banyan หมายถงึ ความเปน หนึง่ เดียวของอินโดนีเซีย
      4. กระทิงปาชวา (Banteng) หมายถึง ความเปนประชาธิปไตยท่ีจะนําไปสูความเปนเอกภาพ

          และการปรกึ ษาหารอื
      5. ขา วและฝาย ถือเปน ตวั แทนของความยตุ ธิ รรมทางสงั คม
      ตราแผนดินนี้ออกแบบโดยสุลตานฮามัดท่ี 2 แหงปอนติอานัก (Sultan Hamid II of
Pontianak) และประกาศใชอ ยา งเปนทางการเมื่อวนั ที่ 11 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2493

   1.4 การเมอื งการปกครอง (เรียบเรียงจากหนังสือชุดเตรยี มความพรอมฯ, 2556)
      หลังประกาศเอกราช อินโดนีเซียไดประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับป ค.ศ. 1945 กําหนดใหมีการ

ปกครองแบบรัฐเดี่ยว มีประธานาธบิ ดีเปนประมุขและหัวหนารฐั บาล โดยมี ดร.ซูการโ น (Sukarno) เปน
ประธานาธิบดีคนแรกและประกาศใชหลกั “ปญ จศีล” ในการปกครองประเทศซึง่ มีอทิ ธิพลตออินโดนเี ซีย
อยางมาก ดร.ซูการไนเปนผูแสวงหาหลักการขั้นพ้ืนฐานสําหรับนํามาประสานกันระหวางกลุมอิสลามซึ่ง
ตองการผูปกครองที่เปนผูนําทางศาสนาอิสลามและกลุมพลเรือนคณะชาตินิยมซ่ึงเปนกลุมที่มีปรัชญา
แนวทางสังคมนิยม หลักปญจศีลจึงเปนปรัชญาของประเทศที่วาดวยการนับถือพระเจาองคเดียว การ
เปนมนษุ ยท ่ีเจริญมคี วามเท่ยี งธรรม ใหความยตุ ธิ รรมแกสงั คม และอธปิ ไตยเปนของปวงชน

      เน่ืองจากมีพรรคการเมืองเปนจํานวนมากทําใหระบบรัฐสภาของอินโดนีเซียขาดประสิทธิภาพ
อํานาจทางการเมืองของซูการโนมีอยูอยางจํากัดตามรัฐธรรมนูญฉบับเฉพาะกาลป ค.ศ. 1950 เมื่อเกิด
การลุกฮือของผูสนบั สนุนการแบงแยกดนิ แดนบนเกาะสุมาตรา ทางเหนือของสุลาเวสีและชวาตะวนั ตกใน
ปลายทศวรรษ 1950 ซูการโนจึงประกาศกฎอัยการศึกและใชกําลังทหารเขาจัดการกับพวกกบฏ หลัง
เหตุการณสงบ ซกู ารโนประกาศยุบสภาในป ค.ศ. 1959 และนาํ รัฐธรรมนูญฉบับป ค.ศ. 1945 กลบั มา
ใชใหมอีกครั้ง พรอมท้ังจัดต้ังสภาท่ีปรึกษาประชาชนข้ึนมาแทนและนําการปกครองแบบประชาธิปไตย
แบบนําวิถีมาใช ซ่ึงใหอํานาจแกประธานาธิบดีและกองทัพอยางมากจนเกิดความวุนวายขึ้นถึงขั้นเกิดการ
จลาจลและการนองเลือดในป ค.ศ. 1965 ตอมาพันตรีซูฮารโต (Suharto) ไดเขายึดอํานาจการปกครอง
   316   317   318   319   320   321   322   323   324   325   326