Page 323 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 323
โครงกา9รบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 11-9
1.5 โครงสรางการปกครอง (เรียบเรยี งจากหนงั สอ่ื ชดุ เตรียมความพรอมฯ, 2556)
อินโดนีเซียปกครองแบบประชาธิปไตยมีประธานาธิบดีเปนท้ังประมุขแหงรัฐและหัวหนาฝาย
บริหารและเปนผูบัญชาการกองทัพอยูในตําแหนงวาระละ 5 ป และอยูไดไมเกิน 2 สมัยติดตอกัน
โครงสรางสถาบนั ทางการเมืองและการบริหารตามรัฐธรรมนูญฉบับแกไขลาสุดประกอบดวย
1. สภาท่ีปรึกษาประชาชน (People’s Consultative Assembly หรือ Majelis
Permusyawaratan : MPR) มาจากการเลือกต้ังมีหนาท่ีสําคัญ 3 ประการคือ การแกไขรัฐธรรมนูญ
การแตงต้ังประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี และการถอดถอนประธานาธิบดี สภาที่ปรึกษา
ประชาชนยังแบงออกเปน 2 สว นคอื
1.1 สภาผูแทนราษฎร (People’s Representative Council หรือ Dewan
Perwakilan Rakyat : DPR) จํานวน 560 คน ทําหนาที่ฝายนิติบัญญัติ อนุมัติงบประมาณและกํากับ
ดูแลการทํางานของรฐั บาล มีวาระ 5 ป การพิจารณารา งกฎหมายแตละฉบับตอ งมีการหารือและไดรับ
ความเห็นชอบรวมกันระหวางสภาผูแทนราษฎรและประธานาธิบดี ถารางกฎหมายใดท่ีประธานาธิบดีไม
เห็นชอบ ไมสามารถนํากลับมาพิจารณาใหมได ถากฎหมายท่ีไดรับการเห็นชอบทั้งจากสภาและ
ประธานาธิบดีแตประธานาธิบดีไมลงนามภายใน 30 วัน ไมวาดวยเหตุผลใดใหกฎหมายน้ันมีผลบังคับ
ใชไ ดสมบรู ณ
1.2 สภาผูแทนระดับภูมิภาค (Regional Representatives Council หรือ
Dewan Perwakilan Daerah: DPD) จํานวน 132 คน เปนตัวแทนจากภูมิภาค องคกรสังคม และ
กลุมอาชีพตางๆ โดยมาจากจังหวัดละ 4 คน มีหนาท่ีเสนอและใหค วามเห็นชอบรางกฎหมายทเ่ี กี่ยวกับ
การกระจายอาํ นาจสภู ูมิภาค การยุบหรอื รวมจังหวัด การบริหารทรพั ยากรธรรมชาติ การตรวจสอบการ
ใชจายงบประมาณ การเกบ็ ภาษี การจัดการศกึ ษาและการศาสนาใหแ กสภาผูแ ทนราษฎร
2. สภาประชาชนระดับทองถ่ิน (Regional People’s House of Representative
หรือ Dewan Perwakilan Rakyat Duerah : DPRD) แบงเปนจังหวัด อําเภอ และตําบล/เทศบาล
โดยจัดใหมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาประชาชนระดับทองถ่ินในทุกระดับพรอมกับการเลือกตั้งสภา
ผแู ทนราษฎรและสภาผแู ทนระดับภมู ิภาค