Page 400 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 400

13-22	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

                                                            22

      และผลิตกาลังคนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงและความต้องการของตลาด การวิจัยและการใช้
      เทคโนโลยแี ละส่ือเพือ่ การเรียนรู้

             การลงทุนด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและส่ิงอานวยความสะดวกของเมืองเตรียมความพร้อม
รองรับความเป็นเมือง ทั้งด้านการบริหารจัดการด้านผังเมือง ด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบ
คมนาคมขนส่ง ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบการศึกษาและระบบสาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน มี
คุณภาพ และเพียงพอต่อความต้องการของคนในเมือง รวมทั้งเสริมสร้างความสามารถในการบริหารจัด
การเมืองตามระดับการพัฒนา การพัฒนาด้านการขนส่งและโลจิสติกส์เช่ือมโยงกับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมและ
เร่งรัดการพัฒนาระบบการบริหารจัดการโลจิสติกส์ของประเทศเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศท้ังด้านการค้า การลงทุน และการบริการ โดยคานึงถึงการเปน็ มิตรต่อส่ิงแวดล้อม (Green Logistics)
สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ความร่วมมือในหว่ งโซอ่ ุปทาน และปรับปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบียบ รวมท้ังปรบั ลดกระบวนงาน
ด้านอานวยความสะดวกทางการค้า ขนส่ง และโลจิสติกส์ให้มีความสะดวกและมีประสิทธิภาพต่อภาคธุรกิจ
อยา่ งแทจ้ รงิ

            การส่งเสริมการลงทุน การค้าชายแดน และการจัดต้ังเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ
ให้ความสาคัญกับนโยบายส่งเสริมการลงทุนและการค้าชายแดนเพ่ือดึงดูดให้นักลงทุนในภูมิภาคเข้ามาลงทุน
ในไทยและประเทศเพ่ือนบ้าน รวมทั้งส่งเสริมการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่ชายแดนโดยให้
ความสาคัญกับการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐาน การส่งเสริมการลงทุนและสิทธิประโยชน์ การบริหารจัดการ
แรงงานตา่ งดา้ ว และการใหบ้ ริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ เพื่อชว่ ยอานวยความสะดวกดา้ นการค้าชายแดน และการ
ผา่ นแดนระหว่างไทยกับประเทศในภมู ภิ าคมากขึน้

          แผนพัฒนาฯฉบบั ที่ 12 ยังมุ่งสูเ่ ปา้ หมายการสรา้ งความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจและสงั คมอย่าง
      เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การรักษาทุนทางธรรมชาติเพื่อการเติบโตสีเขียว ใช้ประโยชน์จากทุน
      ธรรมชาติโดยคานึงถึงขีดจากดั และศักยภาพในการฟื้นตัว ปกป้องรักษาทรพั ยากรป่าไม้ โดยสนธิกาลัง
      ของทุกภาคส่วน นาระบบสารสนเทศมาใช้เพ่ือการบริหารจัดการ บังคับใช้กฎหมายอย่างมี
      ประสิทธิภาพและเป็นธรรม เพิ่มพื้นที่ป่าไม้โดยส่งเสริมการปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกิจระยะยาว
      อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนและแบ่งปันผลประโยชน์อย่างเป็น
      ธรรม รวมทั้งผลักดันแนวทางการประเมินมูลค่าของระบบนิเวศและการสร้างรายได้จากการอนุรักษ์
      จดั สรรท่ีดนิ ใหแ้ ก่ผู้ยากไร้ กระจายการถอื ครองที่ดิน จัดทาฐานข้อมูลทด่ี ินเพื่อการบรหิ ารจัดการอย่าง
      เป็นระบบ การจัดเก็บภาษีท่ีดินในอัตราก้าวหน้า กาหนดเพดานการถือครองท่ีดินที่เหมาะสม และ
      กาหนดมาตรการปอ้ งกันการถือครองท่ีดินของคนตา่ งชาติ บรหิ ารจดั การนา้ เพื่อให้เกิดความ
      ย่งั ยนื บูรณาการระหวา่ งหนว่ ยงานอยา่ งเป็นระบบ สร้างศูนย์ข้อมูลทรัพยากรน้า จดั ตั้งองคก์ รบริหาร
      จัดการน้าในระดับพ้ืนท่ี เช่น คณะกรรมการลุ่มน้า และองค์กรผู้ใช้น้า คุ้มครองทรัพยากรทางทะเล
      และชายฝ่ัง ลดความขัดแย้งเชิงนโยบายระหว่างการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน การท่องเที่ยว การ
      ประมง และวิถีชีวิตของชุมชนบริหารจัดการแร่โดยกาหนดปริมาณท่ีเหมาะสมในการนาแร่มาใช้
      ประโยชน์ คานึงถึงความจาเป็นและมูลค่าในอนาคต บังคับใช้มาตรการควบคุมผลกระทบจากการทา
      เหมอื งแรท่ ี่ก่อมลพิษตอ่ สภาพแวดลอ้ มและสุขภาพอนามัยของประชาชน

              การสง่ เสรมิ การบรโิ ภคท่ีเป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม สร้างระบบหมุนเวียนวสั ดทุ ใ่ี ช้
   395   396   397   398   399   400   401   402   403   404   405