Page 414 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 414

14-8	   หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอ8าเซียน

      8. สนิ ค้าอสุ าหกรรมยงั มกี ารเชือ่ มโยงวัตถุดบิ จากภาคเกษตรยงั ไม่มาก ถึงแม้วา่ ภาคเกษตร
         กรรมจะเป็นภาคการผลิตท่ีสาคัญของประเทศมาอย่างช้านานแล้วก็ตาม แต่ผลผลิตของ
         ภาคเกษตรกรรมของประเทศไทยเกือบทั้งหมดยังมีระดับของการเชื่อมโยงท่ีค่อนข้างต่า
         เมื่อเปรียบเทียบกับภาคการผลิตอื่นๆ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมพื้นฐานทางด้าน
         พลงั งาน เชน่ การชุดเจาะน้ามันดิบ ผลติ ภัณฑ์ปิโตรเคมี และอุตสาหกรรมเหล็กกล้า และ
         อุตสาหกรรมท่ีเก่ียวข้องเก่ียวกับเหล็ก เป็นต้น โดยสินค้าเกษตรกรรมทุกประเภทมี
         ลักษณะของการเชื่อมโยงไปข้างหน้า (Forword Linkage) ซึ่งมีลักษณะของการผลิต
         ต้นน้า (upstream) มากกว่าการเชื่อมโยงไปข้างหลัง (Backward Linkage) ดังน้ัน
         นโยบายของภาครัฐ ควรให้ความสาคัญต่อการสร้างระดับการเชื่อมโยงดังกล่าวให้สูงข้ึน
         เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมของสินค้าเกษตรกรรมของไทย เพื่อเป็นการสร้างความม่ันคง
         ของรายไดแ้ กเ่ กษตรกรของประเทศ

      9. ภาคการส่งออกพ่งึ พาตลาดหลักเพียงไม่ก่ตี ลาด ในปจั จุบัน พบวา่ รอ้ ยละ 50 ของการ
         ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเป็นการส่งออกไปยังตลาดหลังเพียงไม่กี่ตล าด คือ
         สหรัฐอเมริกา ญ่ีปุ่น และสหภาพยุโรป ซ่ึงเป็นตลาดหลักของทุกประเทศในโลก ส่งผลให้
         ประสบภาวะการแข่งขันสูงข้ึน ทั้งในด้านราคาและคุณภาพ จะเห็นได้ว่าอัตราการ
         เจริญเติบโตของการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมของไทยในตลาดดังกล่าวเริ่มลดลง
         นอกจากนี้ ปญั หาดังกล่าวยังสง่ ผลให้การสง่ ออกของไทยขาดเสถียรภาพอีกด้วย เนอื่ งจาก
         การพง่ึ พาตลาดหลักใหญ่ๆ เพียงไม่กี่ตลาดนั้น เมอื่ ประเทศท่ีเป็นตลาดหลักเกดิ วกิ ฤตทาง
         เศรษฐกิจย่อมส่งผลต่อการบริโภคสินค้าของประชาชนในประเทศดังกล่าวอย่างแน่นอน
         และย่อมจะส่งผลกระทบต่อยอดการสั่งซ้ือสนิ คา้ อุตสาหกรรมของไทยอย่างหลีกเล่ยี งไม่ได้

      10. ตน้ ทุนการขนส่งสูง ถึงแม้วา่ ประเทศไทยจะมจี ุดแข็งในด้านของการมเี ส้นทางคมนาคม
          ขนส่งที่สะดวกและครอบคลุมก็ตาม แต่จากรายงานการสารวจของ WEF กลับช้ีให้เห็น
          ว่าความสามารถในการแข่งขันของไทยยังมีจุดอ่อนในเร่ืองของค่าใช้จ่ายในด้านการ
          ขนส่งหรือ Logistic เนื่องจากค่าใช้จ่ายดังกล่าวของไทยสูงถึงร้อยละ 25 ของ GDP ซึ่ง
          การสารวจของ WEF นน้ั สอดคล้องกบั ตัวชีว้ ัด Logistic Performance Index 2007 ซง่ึ
          จดั ทาข้ึนโดยธนาคารโลก (World Bank) ท่ีสะทอ้ นว่าประเทศไทยมีอัตราค่าขนส่งอยู่ใน
          อันดับที่ 31 จากจานวน 150 ประเทศทั่วโลกตามหลังประเทศสิงคโปร์ท่ีอยู่ในอันดับที่
   409   410   411   412   413   414   415   416   417   418   419