Page 412 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 412
14-6 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอ6าเซียน
2. มกี ารขาดแคลนแรงงานจากคา่ นยิ มการทางานและการศกึ ษาทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป แรงงาน
ไทยมักจะมีค่านิยมเกี่ยวกับการทางานที่ผิดๆ โดยให้ความสาคัญกับลักษณะ ภาพลักษณ์
ของตาแหน่งงานมากกว่ารายได้ นอกจากนี้ เด็กไทยมคี า่ นิยมท่ีจะเรียนระดบั มหาวิทยาลัย
มากขึ้นมีแนวโน้มท่ีจะเลือกเรียนวิชาสายอาชีพเริ่มนอ้ ยลง จึงส่งผลให้เกิดปัญหาการขาด
แคลนแรงงาน
3. แรงงานการศึกษาตา่ และมอี ัตราการเขา้ ออกสงู ในภาพรวมของแรงงานไทยนัน้ ถึงแมจ้ ะ
เป็นแรงงานที่มีฝีมือ มีทักษะและประสบการณ์ แต่ผลจากการสารวจของหลายหน่วยงาน
พบว่า แรงงานส่วนใหญ่ท้ังในภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรมของไทยเป็นแรงงานที่มี
การศึกษาต่า นอกจากน้ี ยังมีอัตราการเข้าออกงานและเคลื่อนย้ายแรงงานจาก
อตุ สาหกรรมหนึง่ ไปยงั อตุ สาหกรรมหนึ่ง หรอื จากอัตราการหมนุ เวียนจากอุตสาหกรรมไป
ยังภาคเกษตรและภาคบริการสูง ดังนั้น จากปัจจัยดังกล่าว จึงส่งผลให้แรงงานของไทย
ยากทีจ่ ะพฒั นาให้มีประสิทธิภาพท่ีสูงข้นึ
4. การกระจุกตัวของพืน้ ทีอ่ ุตสาหกรรมทาให้เกดิ ปญั หาความเหลอื่ มลา้ ทางด้านรายได้ และ
การอพยพแรงงานเข้ามาหางานทาในเมือง การพัฒนาอุตสาหกรรมที่ผ่านมาเกิดปัญหา
การกระจุกตัวของอุตสาหกรรมไม่กระจายสู่ภูมิภาคนั้น เน่ืองจากพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล รวมถึงพื้นที่ในภาคตะวันออก มีปัจจัยอานวยความสะดวกข้ันพ้ืนฐานมาก
ตลอดจนเป็นศูนย์กลางในด้านการตลาด การคมนาคม ขนส่งแหล่งเงินทุน และแรงงาน
ซ่ึงการกระจุกตัวของพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย
เช่น ปัญหาความเหล่ือมล้าทางด้านรายได้ ปัญหาการอพยพแรงงานเข้ามาหางานทา
ในเมือง เป็นตน้
5. ภาวะคกุ คามจากสัดสว่ นโครงสรา้ งประชากรสูงอายุทเ่ี พม่ิ มากขึน้ และวัยทางานทล่ี ดลง ซึง่
อาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เน้นใช้แรงงาน (Labor-intensive)
นอกจากนี้ ยังพบว่า ประเทศไทยกาลังจะผ่านพ้นช่วงเวลาแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจจาก
“การปันผลทางประชากร” (Demographic Dividend) ซึ่งหมายถึง ช่วงเวลาที่สัดส่วน
ประชากรในวนั แรงงานเพิ่มสูงข้ึนเป็นประชากรสว่ นใหญ่ของประเทศ เมือ่ เปรียบเทียบกับ
ประชากรในวัยพ่ึงพึง ได้แก่ เด็กและผู้สูงอายุ กล่าวคือ สัดส่วนของวัยแรงงานท่ีเพิ่มสูง